คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 5
ณ วันที่ 05/10/2562 เงินต้นคงเหลือ 1,065,006.22 บาท อัตราดอกเบี้ย 3.25% ต่อปี
กรณีชำระปกติ พอถึงวันที่ 05/11/2562
ดอกเบี้ย = 1,065,006.22 × 3.25 ÷ 100 ÷ 365 × 31 = 2,939.71 บาท
ชำระอัตโนมัติ 7,200 บาท คงเหลือชำระเงินต้น 7,200 - 2,939.71 = 4,260.29 บาท
เงินต้นคงเหลือ 1,065,006.22 - 4,260.29 = 1,060,745.93 บาท
กรณีโปะ 1,300 บาทในวันที่ 10/10/2562 แยกคิดเป็น 2 ช่วง
1) 05/10/2562 - 10/10/2562 เวลา 5 วัน
ดอกเบี้ย = 1,065,006.22 × 3.25 ÷ 100 ÷ 365 × 5 = 474.146604795 = 474.14 บาท (ธนคารใจดีปัดลงให้)
ยอดชำระ 1,300 บาท คงเหลือชำระเงินต้น 1,300 - 474.14 = 825.86 บาท
เงินต้นคงเหลือ 1,065,006.22 - 825.86 = 1,064,180.36 บาท
2) 10/10/2562 - 05/11/2562 เวลา 26 วัน
ดอกเบี้ย = 1,064,180.36 × 3.25 ÷ 100 ÷ 365 × 26 = 2,463.65 บาท
ชำระอัตโนมัติ 7,200 บาท คงเหลือชำระเงินต้น 7,200 - 2,463.65 = 4,736.35 บาท
เงินต้นคงเหลือ 1,064,180.36 - 4,736.35 = 1,059,444.01 บาท
การโปะไป 1,300 บาทในวันที่ 10/10/2562 ทำให้เงินต้น ณ วันที่ 05/11/2562 ลดลงไป 1,060,745.93 - 1,059,444.01 = 1,301.92 บาท
จะเห็นว่าไม่ว่าจะโปะเมื่อไหร่ก็ทำให้เงินต้นลดลงได้ (ดอกเบี้ยลดลงไป 1.92 บาทด้วย เพราะเงินต้นลดลงตั้งแต่วันที่ 10/10/2562)
ที่สำคัญคือ ต้องแน่ใจว่าธนาคารนำเงินไปหักชำระดอกเบี้ยและเงินต้น ณ วันที่โปะจริง ๆ ไม่ใช่แค่พักเงินไว้รอชำระงวดถัดไปและลดยอดการหักอัตโนมัติ
กรณีชำระปกติ พอถึงวันที่ 05/11/2562
ดอกเบี้ย = 1,065,006.22 × 3.25 ÷ 100 ÷ 365 × 31 = 2,939.71 บาท
ชำระอัตโนมัติ 7,200 บาท คงเหลือชำระเงินต้น 7,200 - 2,939.71 = 4,260.29 บาท
เงินต้นคงเหลือ 1,065,006.22 - 4,260.29 = 1,060,745.93 บาท
กรณีโปะ 1,300 บาทในวันที่ 10/10/2562 แยกคิดเป็น 2 ช่วง
1) 05/10/2562 - 10/10/2562 เวลา 5 วัน
ดอกเบี้ย = 1,065,006.22 × 3.25 ÷ 100 ÷ 365 × 5 = 474.146604795 = 474.14 บาท (ธนคารใจดีปัดลงให้)
ยอดชำระ 1,300 บาท คงเหลือชำระเงินต้น 1,300 - 474.14 = 825.86 บาท
เงินต้นคงเหลือ 1,065,006.22 - 825.86 = 1,064,180.36 บาท
2) 10/10/2562 - 05/11/2562 เวลา 26 วัน
ดอกเบี้ย = 1,064,180.36 × 3.25 ÷ 100 ÷ 365 × 26 = 2,463.65 บาท
ชำระอัตโนมัติ 7,200 บาท คงเหลือชำระเงินต้น 7,200 - 2,463.65 = 4,736.35 บาท
เงินต้นคงเหลือ 1,064,180.36 - 4,736.35 = 1,059,444.01 บาท
การโปะไป 1,300 บาทในวันที่ 10/10/2562 ทำให้เงินต้น ณ วันที่ 05/11/2562 ลดลงไป 1,060,745.93 - 1,059,444.01 = 1,301.92 บาท
จะเห็นว่าไม่ว่าจะโปะเมื่อไหร่ก็ทำให้เงินต้นลดลงได้ (ดอกเบี้ยลดลงไป 1.92 บาทด้วย เพราะเงินต้นลดลงตั้งแต่วันที่ 10/10/2562)
ที่สำคัญคือ ต้องแน่ใจว่าธนาคารนำเงินไปหักชำระดอกเบี้ยและเงินต้น ณ วันที่โปะจริง ๆ ไม่ใช่แค่พักเงินไว้รอชำระงวดถัดไปและลดยอดการหักอัตโนมัติ
แสดงความคิดเห็น
ทำไมโปะค่าบ้านเพิ่มแล้วยอดไม่ไปหักเงินต้น?
พอวันที่10 เราโอนจ่ายเพิ่มไปอีก 1300 บาทเพื่อจะโปะให้ไปหักยอดเงินต้น แต่ทำไมคิดดอกเบี้ยอีก กลายเป็นว่าเดือนนี้จ่ายดอกเพิ่มไปอีกสี่ร้อยกว่าบาท
ตอนเลือกจ่ายแบบหักบัญชี เจ้าหน้าที่บอกว่าโปะได้ โดยจ่ายหลังจากวันที่หักแล้วสักห้าวัน
รบกวนผู้รู้ด้วยจ้า