เวียนรอบ ๔ อย่างไร? คือ เรารู้ยิ่งซึ่งรูป ความเกิดแห่งรูป ความดับแห่งรูป ปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งรูป
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ที่มา : พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙ สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค ๔. ปริวัฏฏสูตร ว่าด้วยการรู้อุปาทานขันธ์โดยเวียนรอบ ๔
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=17&A=1302&Z=1378&pagebreak=0
-------------------------------------------------------------------------------------------
ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุจงใจ ดำริ และนึกคิดถึงสิ่งใด สิ่งนั้นเป็นอารัมมณปัจจัย เพื่อความตั้งมั่นแห่งวิญญาณ เมื่ออารัมมณปัจจัยมี ความตั้งมั่นแห่งวิญญาณจึงมี
เมื่อวิญญาณนั้นตั้งมั่นแล้ว เจริญขึ้นแล้ว ความบังเกิดแห่งภพใหม่ต่อไปจึงมี เมื่อความบังเกิดแห่งภพใหม่ต่อไป ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส
และอุปายาสจึงมีต่อไป
---ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ มีได้ด้วยประการฉะนี้
----------------------------------------------------------------------
ที่มา พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
๗. นตุมหสูตร ว่าด้วย(กาย)ไม่ใช่ของเธอทั้งหลาย
http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=16&siri=33
๘. เจตนาสูตร ว่าด้วยเจตนา
http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=16&siri=34
------------------------------
ปล.๑ เมื่อเรียนปฏิจจสมุปบาท มาถึงตอน สังขาระ ปัจจะยา วิญญานัง
ทำให้เข้าใจสังขารที่เป็นผลของอวิชชามี ๖ อย่าง ได้แก่ กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร อันเป็นกลุ่มของสะหะชาตะกัมมะปัจจัย และ ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร และอเนญชาภิสังขาร เป็นกลุ่มของนานักขณิกะกัมมะปัจจัย
เข้าใจสังขารที่เป็นเหตุให้วิญญานเกิด มี ๓ เท่านั้นคือ ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร อเนญชาภิสังขาร ซึ่งเป็นกลุ่มของ นานักขณิกะกัมมะปัจจัย
ธรรมทั้ง ๓ ประการนี้ ปรากฏเกิดขึ้นเพราะอาศัย ความไม่รู้ในธรรม ๘ ประการ คือ อริยสัจจะ ๔ ปุพพันตะ ๑ อปรันตะ๑ ปุพพันตาปรันตะ๑ ปฏิจจสมุปบาท๑ รวมธรรม ๘ ประการเป็นเหตุ
ปล.๒ ความมุ่งหมายแปะกระทู้ อันนี้เป็นคำถามในใจที่เคยถามหาคำตอบในพันทิพย์มาก่อน , มิได้มุ่งหมายที่จะให้เข้าใจง่ายสำหรับคนที่ไม่ได้ศึกษาพระไตรปิฎกอย่างจริงจัง(อันธปุถุชน) แต่สำหรับเข้าใจได้กับกัลยาณมิตรปุถุชน
เวียนรอบ๔ ในธัมมจักรกัปปวัตตนสูตร,ศัพท์พระอภิธรรมในพระสูตร ,ความเข้าใจใน สังขาร ในปฏิจจสมุปบาท(แบบข้ามภพชาติ)
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ที่มา : พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙ สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค ๔. ปริวัฏฏสูตร ว่าด้วยการรู้อุปาทานขันธ์โดยเวียนรอบ ๔
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=17&A=1302&Z=1378&pagebreak=0
-------------------------------------------------------------------------------------------
ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุจงใจ ดำริ และนึกคิดถึงสิ่งใด สิ่งนั้นเป็นอารัมมณปัจจัย เพื่อความตั้งมั่นแห่งวิญญาณ เมื่ออารัมมณปัจจัยมี ความตั้งมั่นแห่งวิญญาณจึงมี
เมื่อวิญญาณนั้นตั้งมั่นแล้ว เจริญขึ้นแล้ว ความบังเกิดแห่งภพใหม่ต่อไปจึงมี เมื่อความบังเกิดแห่งภพใหม่ต่อไป ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส
และอุปายาสจึงมีต่อไป
---ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ มีได้ด้วยประการฉะนี้
----------------------------------------------------------------------
ที่มา พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
๗. นตุมหสูตร ว่าด้วย(กาย)ไม่ใช่ของเธอทั้งหลาย
http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=16&siri=33
๘. เจตนาสูตร ว่าด้วยเจตนา
http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=16&siri=34
------------------------------
ปล.๑ เมื่อเรียนปฏิจจสมุปบาท มาถึงตอน สังขาระ ปัจจะยา วิญญานัง
ทำให้เข้าใจสังขารที่เป็นผลของอวิชชามี ๖ อย่าง ได้แก่ กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร อันเป็นกลุ่มของสะหะชาตะกัมมะปัจจัย และ ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร และอเนญชาภิสังขาร เป็นกลุ่มของนานักขณิกะกัมมะปัจจัย
เข้าใจสังขารที่เป็นเหตุให้วิญญานเกิด มี ๓ เท่านั้นคือ ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร อเนญชาภิสังขาร ซึ่งเป็นกลุ่มของ นานักขณิกะกัมมะปัจจัย
ธรรมทั้ง ๓ ประการนี้ ปรากฏเกิดขึ้นเพราะอาศัย ความไม่รู้ในธรรม ๘ ประการ คือ อริยสัจจะ ๔ ปุพพันตะ ๑ อปรันตะ๑ ปุพพันตาปรันตะ๑ ปฏิจจสมุปบาท๑ รวมธรรม ๘ ประการเป็นเหตุ
ปล.๒ ความมุ่งหมายแปะกระทู้ อันนี้เป็นคำถามในใจที่เคยถามหาคำตอบในพันทิพย์มาก่อน , มิได้มุ่งหมายที่จะให้เข้าใจง่ายสำหรับคนที่ไม่ได้ศึกษาพระไตรปิฎกอย่างจริงจัง(อันธปุถุชน) แต่สำหรับเข้าใจได้กับกัลยาณมิตรปุถุชน