ร้านกาแฟ หรือ คาเฟ่ (อังกฤษ: Café) เป็นร้านประกอบกิจการเกี่ยวกับกาแฟ ลักษณะร้านแบบคาเฟ่นั้น เป็นการผสมรูปแบบระหว่าง "ภัตตาคาร" และ "บาร์" เข้าด้วยกัน โดยทั่วไปดื่มคาเฟ่จะไม่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ จะเน้นไปที่เครื่องดื่มประเภท ชา กาแฟ หรือ ช็อคโกแลต และอาจมีอาหารว่าง ซุป แซนวิช ขนมอบและขนมหวานที่เสิร์ฟเคียงกับเครื่องดื่ม เช่น เค้กหรือคุกกี้ไว้บริการด้วย
“จุดเริ่มต้น”
ครูแอน อินทุอร ผู้นำเทคนิค Marbling Art โดยมีแห่งกำเนิดจากประเทศตุรกี และนำเทคนิคนี้เข้ามาทำลวดลายต่างๆที่มีหลากหลายและคล้ายคลึงลายหินอ่อนพิมพ์ลงบนวัสดุสิ่งของต่างๆ เช่น กระดาษ ผ้า กำไร ปกหนังสือสมุด เสื้อผ้า ผ้าพันคอ ฯลฯ โดยอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำมีสีอะคริลิคคุณภาพดีเกรดพรี่เมี่ยม แปรงที่ใช้สบัดสีที่ขนแปรงทำมาจากขนของห่างม้าและก้านทำมาจาก้านของดอกกุหลาบ
น้ำที่ใช้เป็นตัวคุมสีมีการผสมสารเมทิลเซลลูโลสในปริมาณ สาร 15 กรัมต่อน้ำ 1500 มิลลิลิตรเพื่อให้น้ำมีความหนืดขึ้นก่อนน้ำสีหยดลงไปในถาดพิมพ์ สีอะคริลิคที่ใช้มีส่วนผสมของเท็กซ์ไทล์มีเดียม คือสี 1 - 2 กรัม ต่อเท็กซ์ไทล์มีเดียม 1-2 หยด ตามด้วยน้ำ 45 มิลลิลิตร
จุดเริ่มต้นจากความถนัดและความชื่นชอบการถ่ายภาพและการผักผ่อนหย่อนใจในร้านกาแฟ การมองหามุมสบายๆเพื่อถ่ายภาพบรรยากาศและถ้วยกาแฟ โดยเฉพาะความสุขในการดื่มกาแฟและลวดลายที่เกิดจากฟองนมอย่างลาเต้อาร์ตที่มีการสร้างลวดลายให้ผู้ดื่มตื่นเต้นและเกิดสุนทรียะอีกทั้งหัตถกรรมของจังหวัดแพร่ที่เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดคือผ้าหม้อฮ่อมและผ้ามัดย้อมจากใบฮ่อมที่ให้สีครามเป็นที่มาของแนวคิดในการสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายจากการผสมผสานระหว่างภาพถ่ายลาเต้อาร์ตกับงานหัตถกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดแพร่
ผ่านกระบวนการสร้างลวดลายจากเทคนิคผ้าพิมพ์บนผิวน้ำเพื่อแสดงให้เห็นรูปทรงรูปร่างที่คล้ายคลึงกับลวดลายฟองนมบนลาเต้อาร์ตและความเป็นงานหัตถกรรม เพื่อตอบสนองกับผู้ที่มีความสนใจและมีความชื่นชอบการดื่มกาแฟหรือเจ้าของธุรกิจที่ต้องการเครื่องแต่งกายที่สามารถเสร้างเอกลักษณ์ของร้านกาแฟได้ ทั้งนี้ยังสามารถพัฒนาลวดลายต่างๆเพื่อเป็นทางเลือกให้กับตลาดหัตถกรรมได้
“ผลประโยชน์ต่อสังคม”
เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมให้มีความหลากหลายมากขึ้น ไม่เพียงแต่เป็นผ้าหม้อฮ่อมกับผ้ามัดย้อมเท่านั้น แต่เป็นการผสมผสานภาพถ่ายลาเต้อาร์ตกับวัสดุในท้องถิ่นคือผ้าฝ้ายที่ถูกทำขึ้นโดยเทคนิคการพิมพ์ผ้าบนผิวน้ำการวาดลวดลายคล้ายคลึงกับลาเต้อาร์ต
เจ้าของผลงาน นาย อดุลวิทย์ ชุมศรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปะและการออก มหาวิทยาลัยพะเยา ภายใต้ชื่อว่า Latte Art Collection 2019 ได้นำเสนอลวดลายลาเต้อาร์ตที่รับแรงบันดาลใจจากการกาแฟ นำเอกลักษณ์ของลาดลายลาเต้อาร์ตพิมพ์ลงบนผ้าฝ้ายด้วยเทคนิคการพิมพ์ผ้าบนผิวน้ำเพื่อให้ได้ลวดลายที่คล้ายคลึงกับลาเต้อาร์ต
“เทคนิควิธีการ”
การนำลวดลายลาเต้อาร์ตที่สร้างเทคนิคขึ้นลายด้วยการพิมพ์ผ้าบนผิวน้ำที่มีส่วนผสมของสารเมทิวเซลลูโลสที่เป็นตัวควบคุมการเคลื่อนไหวของสี และสีอะคริลิคผสมกับเท็กซ์ไทล์มีเดียมเพื่อเพิ่มการยึดเกาะของสีอะคริลิคกับเนื้อผ้า โดยการทำลวดลายจะต้องลงรองพื้นสีให้ทั่วแม่พิมพ์แล้วหยดสีในจุดเดิมซ้ำๆเพื่อเพิ่มความเข้มและความหนาของสี ใช้อุปกรณ์ในการวาดลวดลายเช่น ไม้จิ่มฟัน ตะเกียบ เป็นต้น
อ้างอิงเทคนิค
เทคนิคนี้มีชื่อว่ามาบิ้ลอาร์ต ศิลปะการสร้างลวดลายหินอ่อน คือการสร้างลวดลายโดยการสะบัดสี, หยดสี แล้ววาดลวดลายลงบนน้ำเจล สร้างเป็นชิ้นงานต่างๆ ที่น่าสนใจ อาทิเช่น จานรองแก้ว, ผ้าพันคอ, กระดาษสี และมีจุดกำเนิดจากประเทศตุรกี
เปรียบเทียบเทคนิค
การทำเทคนิค Marbling Art มาใช้ในการทำลวดลายที่ได้แรงบันดาลใจจากฟองน้ำบนลาเต้อาร์ต พบว่าสีอะคริลิค อุปกรณ์ในการหยดสี สามารถหาซื้อได้ตามร้านเครื่องเขียน ไม่จำเป็นที่จะต้องสั่งนำเข้าจากต่างประเทศ แต่การอุปกรณ์สำหรับเทคนิค Marbling Art นี้อาจได้คุณภาพงานที่ดีตามมาด้วยเพราะเป็นอุปกรณ์ที่ทำขึ้นมาเพื่อเทคนิคนี้ด้วยเฉพาะ
นาย จักรกฤษณ์ แก้วสลุด 59120074
นาย เทียนชัย ปวงคำยะ 59120209
นางสาว สุพัชรี ศรีกรุษ 59120445
นาย อดลุวิทย์ ชุมศรี 59121020
นาย ศิรวิทย์ เชื้อเมืองพาน 59121277
เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชาศิลปวิจารณ์ 181431
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยพะเยา
ช่วยวิจารณ์หรือให้คำติชมกันกันได้นะครับ^^
LATTE ART COLLECTION 2019
“จุดเริ่มต้น”
ครูแอน อินทุอร ผู้นำเทคนิค Marbling Art โดยมีแห่งกำเนิดจากประเทศตุรกี และนำเทคนิคนี้เข้ามาทำลวดลายต่างๆที่มีหลากหลายและคล้ายคลึงลายหินอ่อนพิมพ์ลงบนวัสดุสิ่งของต่างๆ เช่น กระดาษ ผ้า กำไร ปกหนังสือสมุด เสื้อผ้า ผ้าพันคอ ฯลฯ โดยอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำมีสีอะคริลิคคุณภาพดีเกรดพรี่เมี่ยม แปรงที่ใช้สบัดสีที่ขนแปรงทำมาจากขนของห่างม้าและก้านทำมาจาก้านของดอกกุหลาบ
น้ำที่ใช้เป็นตัวคุมสีมีการผสมสารเมทิลเซลลูโลสในปริมาณ สาร 15 กรัมต่อน้ำ 1500 มิลลิลิตรเพื่อให้น้ำมีความหนืดขึ้นก่อนน้ำสีหยดลงไปในถาดพิมพ์ สีอะคริลิคที่ใช้มีส่วนผสมของเท็กซ์ไทล์มีเดียม คือสี 1 - 2 กรัม ต่อเท็กซ์ไทล์มีเดียม 1-2 หยด ตามด้วยน้ำ 45 มิลลิลิตร
จุดเริ่มต้นจากความถนัดและความชื่นชอบการถ่ายภาพและการผักผ่อนหย่อนใจในร้านกาแฟ การมองหามุมสบายๆเพื่อถ่ายภาพบรรยากาศและถ้วยกาแฟ โดยเฉพาะความสุขในการดื่มกาแฟและลวดลายที่เกิดจากฟองนมอย่างลาเต้อาร์ตที่มีการสร้างลวดลายให้ผู้ดื่มตื่นเต้นและเกิดสุนทรียะอีกทั้งหัตถกรรมของจังหวัดแพร่ที่เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดคือผ้าหม้อฮ่อมและผ้ามัดย้อมจากใบฮ่อมที่ให้สีครามเป็นที่มาของแนวคิดในการสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายจากการผสมผสานระหว่างภาพถ่ายลาเต้อาร์ตกับงานหัตถกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดแพร่
ผ่านกระบวนการสร้างลวดลายจากเทคนิคผ้าพิมพ์บนผิวน้ำเพื่อแสดงให้เห็นรูปทรงรูปร่างที่คล้ายคลึงกับลวดลายฟองนมบนลาเต้อาร์ตและความเป็นงานหัตถกรรม เพื่อตอบสนองกับผู้ที่มีความสนใจและมีความชื่นชอบการดื่มกาแฟหรือเจ้าของธุรกิจที่ต้องการเครื่องแต่งกายที่สามารถเสร้างเอกลักษณ์ของร้านกาแฟได้ ทั้งนี้ยังสามารถพัฒนาลวดลายต่างๆเพื่อเป็นทางเลือกให้กับตลาดหัตถกรรมได้
“ผลประโยชน์ต่อสังคม”
เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมให้มีความหลากหลายมากขึ้น ไม่เพียงแต่เป็นผ้าหม้อฮ่อมกับผ้ามัดย้อมเท่านั้น แต่เป็นการผสมผสานภาพถ่ายลาเต้อาร์ตกับวัสดุในท้องถิ่นคือผ้าฝ้ายที่ถูกทำขึ้นโดยเทคนิคการพิมพ์ผ้าบนผิวน้ำการวาดลวดลายคล้ายคลึงกับลาเต้อาร์ต
เจ้าของผลงาน นาย อดุลวิทย์ ชุมศรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปะและการออก มหาวิทยาลัยพะเยา ภายใต้ชื่อว่า Latte Art Collection 2019 ได้นำเสนอลวดลายลาเต้อาร์ตที่รับแรงบันดาลใจจากการกาแฟ นำเอกลักษณ์ของลาดลายลาเต้อาร์ตพิมพ์ลงบนผ้าฝ้ายด้วยเทคนิคการพิมพ์ผ้าบนผิวน้ำเพื่อให้ได้ลวดลายที่คล้ายคลึงกับลาเต้อาร์ต
“เทคนิควิธีการ”
การนำลวดลายลาเต้อาร์ตที่สร้างเทคนิคขึ้นลายด้วยการพิมพ์ผ้าบนผิวน้ำที่มีส่วนผสมของสารเมทิวเซลลูโลสที่เป็นตัวควบคุมการเคลื่อนไหวของสี และสีอะคริลิคผสมกับเท็กซ์ไทล์มีเดียมเพื่อเพิ่มการยึดเกาะของสีอะคริลิคกับเนื้อผ้า โดยการทำลวดลายจะต้องลงรองพื้นสีให้ทั่วแม่พิมพ์แล้วหยดสีในจุดเดิมซ้ำๆเพื่อเพิ่มความเข้มและความหนาของสี ใช้อุปกรณ์ในการวาดลวดลายเช่น ไม้จิ่มฟัน ตะเกียบ เป็นต้น
อ้างอิงเทคนิค
เทคนิคนี้มีชื่อว่ามาบิ้ลอาร์ต ศิลปะการสร้างลวดลายหินอ่อน คือการสร้างลวดลายโดยการสะบัดสี, หยดสี แล้ววาดลวดลายลงบนน้ำเจล สร้างเป็นชิ้นงานต่างๆ ที่น่าสนใจ อาทิเช่น จานรองแก้ว, ผ้าพันคอ, กระดาษสี และมีจุดกำเนิดจากประเทศตุรกี
เปรียบเทียบเทคนิค
การทำเทคนิค Marbling Art มาใช้ในการทำลวดลายที่ได้แรงบันดาลใจจากฟองน้ำบนลาเต้อาร์ต พบว่าสีอะคริลิค อุปกรณ์ในการหยดสี สามารถหาซื้อได้ตามร้านเครื่องเขียน ไม่จำเป็นที่จะต้องสั่งนำเข้าจากต่างประเทศ แต่การอุปกรณ์สำหรับเทคนิค Marbling Art นี้อาจได้คุณภาพงานที่ดีตามมาด้วยเพราะเป็นอุปกรณ์ที่ทำขึ้นมาเพื่อเทคนิคนี้ด้วยเฉพาะ
นาย จักรกฤษณ์ แก้วสลุด 59120074
นาย เทียนชัย ปวงคำยะ 59120209
นางสาว สุพัชรี ศรีกรุษ 59120445
นาย อดลุวิทย์ ชุมศรี 59121020
นาย ศิรวิทย์ เชื้อเมืองพาน 59121277
เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชาศิลปวิจารณ์ 181431
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยพะเยา
ช่วยวิจารณ์หรือให้คำติชมกันกันได้นะครับ^^