วิจารณ์ผลงานของ(ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช)Rirkrit Tiravanija
“จุดเริ่มต้นของชื่อศิลปะกินได้ มาจากหลายๆผลงานสิลปินจึงยกตัวอย่างมา”
มองย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ อาหารมักจะมีบทบาทเกี่ยวข้องกับศิลปะอยู่เสมอ ตั้งแต่ในยุคหินที่ใช้น้ำที่คั้นจากพืชผักและไขมันสัตว์เป็นตัวยึดเกาะในส่วนผสมของสีของภาพวาดบนผนังถ้ำ และชาวอียิปต์ก็แกะสลักภาพสัญลักษณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหารและขนมปังลงไปบนแผ่นจารึกเฮียโรกลิฟฟิก หรือในยุคเรอเนสซองส์ กุยเซปเป้ อาร์ชิมบอลโด (Giuseppe Arcimboldo) จิตรกรแห่งราชสำนักในกรุงเวียนนาและกรุงปราก ก็วาดภาพใบหน้าของคนอันพิสดารพันลึก ที่ประกอบขึ้นจากผลไม้ พืชผัก และดอกไม้
หรือแม้แต่เจ้าพ่อป๊อปอาร์ตอย่าง แอนดี้ วอร์ฮอล (Andy Warhol) เอง ก็หยิบเอาอาหารบรรจุกระป๋องอย่าง ซุปกระป๋องยี่ห้อ Campbell มาสร้างเป็นผลงานชุดที่โด่งดังและเป็นที่จดจำมากที่สุดชิ้นหนึ่งของเขาขึ้นมาในปี 1962 เขากล่าวว่า เขากินซุปกระป๋องของ Campbell เป็นอาหารกลางวันติดต่อกันทุกวันมาเกือบ 20 ปี นอกจากจะเป็นอาหารโปรดของเขาแล้ว ภาพกระป๋องซุปแคมเบลล์ที่ถูกวางเรียงรายกันอย่างสวยงามบนชั้นวางในซูเปอร์มาร์เก็ตที่เขาเคยเห็นเป็นประจำยังติดตาตรึงใจจนเขาต้องถ่ายทอดลงบนผืนผ้าใบในที่สุด ต่อมาภาพวาดซุปกระป๋อง Campbell ชุดนี้ก็กลายเป็นหนึ่งในภาพเขียนที่ถูกหมายปองมากที่สุดจากนักสะสมงานศิลปะ หอศิลป์ และพิพิธภัณฑ์ชั้นนำทั่วโลก และมีราคาประมูลสูงกว่า 20 ล้านเหรียญสหรัฐเลยทีเดียว เรียกว่าเป็นซุปกระป๋องที่มีราคาแพงที่สุดในโลกเลยก็ว่าได้!
https://thematter.co/thinkers/art-you-can-eat/37406
(Giuseppe Arcimboldo) จิตรกรแห่งราชสำนักในกรุงเวียนนาและกรุงปราก
ตัวอย่าง แอนดี้ วอร์ฮอล (Andy Warhol)
https://thematter.co/thinkers/art-you-can-eat/37406
“ในช่วงเวลาต่อมา แทนที่จะวาดรูปอาหารอย่างเดียว”
ศิลปินเริ่มหยิบเอาอาหารจริงๆ มาเป็นวัตถุดิบในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะดัง เช่น ในปี 1970 ศิลปินนักเสียดสีสังคมชาวสวิส-เยอรมัน ดีเตอร์ รอธ (Dieter Roth) หรือที่รู้จักกันในชื่อ Dieter Rot (เน่า) ทำงานศิลปะที่มีชื่อว่า Staple Cheese (A Race) ซึ่งเป็นการเล่นคำล้อเลียนคำว่า steeplechase ที่แปลว่า การขี่ม้าข้ามสิ่งกีดขวาง ผลงานศิลปะที่ประกอบด้วยกระเป๋าเดินทาง 37 ใบ ที่ใส่ชีสข้างในจนเต็มแน่น ส่วนชีสที่เหลือถูกบดบี้กับผนังห้องแสดงงานเพื่อให้มัน (แข่งกัน) ไหลหยดย้อยลงสู่พื้นห้อง สองสามวันหลังจากนิทรรศการเปิด ห้องแสดงงานก็อบอวลไปด้วยกลิ่นเหม็นสุดจะทานทน ในหอศิลป์เต็มไปด้วยหนอนเน่ายั้วเยี้ยยุ่บยับ และแมลงวันบินว่อนเป็นฝูง จนเจ้าหน้าที่สาธารณสุขต้องมาสั่งให้ปิดนิทรรศการ แต่ตัวศิลปินประกาศว่า อันที่จริง หนอนแมลงเหล่านี้นี่แหละ ที่เป็นผู้ชมที่แท้จริงของงานชุดนี้ของเขาต่างหาก
"หนึ่งในตัวอย่างอันโดดเด่นที่สุดของแนวคิดนี้ คือผลงานที่มีชื่อว่า ผัดไทย (Pad Thai) "
ของศิลปินไทย ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช (Rirkrit Tiravanija) ที่ทำขึ้นเป็นครั้งแรกในปี (1990) ในหอศิลป์ Paula Allen ในนิวยอร์ก โดยแทนที่เขาจะวาดรูปแขวนให้คนเข้ามาดูมาชมในหอศิลป์เหมือนที่ศิลปินปกติทั่วไปเขาทำกัน เขากลับเข้าไปทำอาหารแจกให้คนที่เข้ามาดูงานกินกันฟรีๆ แทน โดยยกครัวเข้าไปตั้งในหอศิลป์และทำผัดไทยเสิร์ฟคนดูในแกลเลอรีที่นิวยอร์ก และทิ้งหม้อ กะทะ จาน ชามเปรอะเปื้อนคราบอาหารเอาไว้ในหอศิลป์ ให้คนเข้ามาชมหลังจากวันเปิด ผลงานชิ้นนี้สร้างความงุนงงสงสัยให้กับคนดูที่หวังว่าจะได้ดูงานศิลปะในหอศิลป์ แต่กลับได้กินอาหารกันฟรีๆ แทน โดยหารู้ไม่ว่าไอ้ที่ตัวเองกำลังกลืนลงท้องเข้าไปนั่นแหละคืองานศิลปะ! ภายหลังเขาตั้งชื่องานชิ้นนี้ใหม่ว่า Untitled (Free) (1992/1995/2007/2011)
คือผลงานที่มีชื่อว่า ผัดไทย (Pad Thai) ของศิลปินไทย ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช (Rirkrit Tiravanija)
ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช เป็นศิลปินไทย ที่สร้างชื่อเสียงมาแล้วมากมายในเวทีระดับโลก ผลงานของฤกษ์ฤทธิ์มักเป็นผลงานแนว Conceptual Art และ Installation Art ที่ใช้กระบวนการทางความคิดผสมผสานศิลปะหลากหลายเทคนิค บางครั้งให้คนดูมีส่วนร่วมในงานของเขา “สร้างความหมาย” และ “ตีความ” ศิลปะด้วยตัวเองเป็น Relational Art ที่ไม่ได้เน้นความสำคัญของตัวศิลปิน
ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช (Rirkrit Tiravanija)
https://www.artbangkok.com/?p=23845
ผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่ฤกษ์ฤทธิ์คือการทำอาหาร ในพื้นที่จัดแสดงงานศิลปะ ดังเช่น ผลงาน “ผัดไทย” ปี พ.ศ. 2533 ที่ศิลปินลงมือทำผัดไทยด้วยตัวเองในแกลเลอรี่ที่นิวยอร์ก โดยผู้ชมที่มาร่วมงานนิทรรศการไม่ได้เห็นวัตถุศิลปะใดๆ นอกจากได้ร่วมกินผัดไทย พูดคุย และพบปะสังสรรค์กับศิลปินและแขกคนอื่นๆที่มาร่วมงาน บางส่วนของผลงานแสดงเดี่ยว
“
ขั้นตอนการคิดของความสำเเร็จด้านการสร้างศิลปะอาหาร”
ล่าสุดของฤกษ์ฤทธิ์ ใช้กระบวนการทางความคิดผสมผสานศิลปะหลากหลายเทคนิค บางครั้งให้คนดูมีส่วนร่วมในงานของเขา “สร้างความหมาย” และ “ตีความ” ศิลปะด้วยตัวเอง เป็น Relational Art ที่ไม่ได้เน้นความสำคัญของตัวศิลปิน พยายามจะหลีกเลี่ยงความเป็นจุดสนใจหรือเป็นเป้า สิ่งที่สำคัญที่สุดของ Relational Art คือ ช่วงเวลา หรือ Moment ที่ทุกสิ่งทุกอย่างเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันและกำลังดำเนินไป เขาต้องการที่จะปฏิเสธบางสิ่งที่เกิดขึ้นมา ปฏิเสธสิ่งที่เคยเรียนรู้มาเพื่อที่จะก้าวต่อไปข้างหน้า แสดงสภาวะทางสังคมและบทบาทของศิลปินต่อชุมชน เปลี่ยนบรรยากาศในสถานที่สร้างงานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ของหัวข้อที่เขาต้องการนำเสนอ ทำให้งานของเขามีความสัมพันธ์กับพื้นที่ที่แสดง ฤกษ์ฤทธิ์ทำงานแนวนี้มาเรื่อยๆ จนถึงปัจจุบัน ได้รับความสนใจและสร้างชื่อเสียงให้เขาเป็นอย่างมาก
ผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่ฤกษ์ฤทธิ์เป็นอย่างมาก คือ การนำเอาลักษณะเฉพาะบางอย่างของไทยไปนำเสนอ เช่น งานแสดง “ผัดไทย” ในปี 2532 ที่เขาลงมือปรุงผัดไทยเองในแกลเลอรี่ศิลปะที่นิวยอร์ก แขกที่มาร่วมงานเปิดนิทรรศการครั้งนั้นไม่ได้เห็นศิลปะวัตถุใดๆ นอกจากได้ร่วมกินผัดไทย พูดคุย และพบปะสังสรรค์กับศิลปินและแขกคนอื่นๆ ที่มาร่วมงาน
“เขาทำให้แกลเลอรี่ศิลปะกลายเป็นห้องอาหารไทย”
https://www.artbangkok.com/?p=23845ภาพผลงานตอนทำแกงมัสหมั่งเป็นการจัดแสดงการทำอาหารอีกหนึ่งผลงาน
การวิจารณ์ในตัวงานคือ ตัวงานได้สร้างความสุขให้ผู้คนได้จริงหรือไม่และรสชาติของอาหารทำให้ผู้คนนั้นมีความสุขได้จริงไหมในเรื่องของความรู้สึก
การสร้างอาหารมีบทบาทกับผู้คนในเรื่องรสชาติก็จริงแต่เมื่อความหมายของอาหารแต่ล่ะอย่างมีคาวมแตกต่างกันดังนั้นศิลปะด้านอาหารจึงมีความหมายต่อผู้คนไม่ว่าจะด้านความทรงจำด้านสังคมของชนชั้นอาททำไห้เห็นถึงคุณค่าทางอาหารได้ อย่างเช่นการทำอาหารของคนจนไห้คนรวยได้กินว่าจะมีความรู้สึกในงานแตกต่างออกไปอย่างไรกับคนจนๆที่ไม่เคยได้ลองชิมอาหารที่แพงๆวัตถุดิบหาอยากที่เป็นของคนชั้นสูงไห้คนไม่เคยกินได้กิน ว่าจะมีความรู้สึกในงานอย่างไรก็น่าจะทำให้งานดูแปลกมากขึ้น หากว่าผู้คนที่ได้แลกเปลี่ยนแล้วอาจเกิดความไม่ชอบเพราะมันอาจเป็นอาหารที่แพงแต่รสชาตินั้นไม่ถูกปาก หรือแม้แแต่อาหารที่ถูกๆแต่คนรวยอาจมองว่าไม่ถูกสุขอนามัยก็เกิดอาการไม่ชอบ เพราะอาจเกิดมาจากร่างกายและลิ้นรับรสนั้นสัมผัสที่ยาวนานที่ได้ลองสิ่งใหม่จึงไม่ชินด้ว
วิจารณ์โดย
นางสาวเจนจิรา ชินเป รหัสนิสิต 59120120คณะสถาปัตยกรรมศาตร์และศิลปกรรมศาสตร์สาขาศิลปะและการออกแบบมหาวิทยาลัยพะเยา
ศิละปะที่กินได้ ???
“จุดเริ่มต้นของชื่อศิลปะกินได้ มาจากหลายๆผลงานสิลปินจึงยกตัวอย่างมา”
มองย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ อาหารมักจะมีบทบาทเกี่ยวข้องกับศิลปะอยู่เสมอ ตั้งแต่ในยุคหินที่ใช้น้ำที่คั้นจากพืชผักและไขมันสัตว์เป็นตัวยึดเกาะในส่วนผสมของสีของภาพวาดบนผนังถ้ำ และชาวอียิปต์ก็แกะสลักภาพสัญลักษณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหารและขนมปังลงไปบนแผ่นจารึกเฮียโรกลิฟฟิก หรือในยุคเรอเนสซองส์ กุยเซปเป้ อาร์ชิมบอลโด (Giuseppe Arcimboldo) จิตรกรแห่งราชสำนักในกรุงเวียนนาและกรุงปราก ก็วาดภาพใบหน้าของคนอันพิสดารพันลึก ที่ประกอบขึ้นจากผลไม้ พืชผัก และดอกไม้
หรือแม้แต่เจ้าพ่อป๊อปอาร์ตอย่าง แอนดี้ วอร์ฮอล (Andy Warhol) เอง ก็หยิบเอาอาหารบรรจุกระป๋องอย่าง ซุปกระป๋องยี่ห้อ Campbell มาสร้างเป็นผลงานชุดที่โด่งดังและเป็นที่จดจำมากที่สุดชิ้นหนึ่งของเขาขึ้นมาในปี 1962 เขากล่าวว่า เขากินซุปกระป๋องของ Campbell เป็นอาหารกลางวันติดต่อกันทุกวันมาเกือบ 20 ปี นอกจากจะเป็นอาหารโปรดของเขาแล้ว ภาพกระป๋องซุปแคมเบลล์ที่ถูกวางเรียงรายกันอย่างสวยงามบนชั้นวางในซูเปอร์มาร์เก็ตที่เขาเคยเห็นเป็นประจำยังติดตาตรึงใจจนเขาต้องถ่ายทอดลงบนผืนผ้าใบในที่สุด ต่อมาภาพวาดซุปกระป๋อง Campbell ชุดนี้ก็กลายเป็นหนึ่งในภาพเขียนที่ถูกหมายปองมากที่สุดจากนักสะสมงานศิลปะ หอศิลป์ และพิพิธภัณฑ์ชั้นนำทั่วโลก และมีราคาประมูลสูงกว่า 20 ล้านเหรียญสหรัฐเลยทีเดียว เรียกว่าเป็นซุปกระป๋องที่มีราคาแพงที่สุดในโลกเลยก็ว่าได้!
https://thematter.co/thinkers/art-you-can-eat/37406
(Giuseppe Arcimboldo) จิตรกรแห่งราชสำนักในกรุงเวียนนาและกรุงปราก
ตัวอย่าง แอนดี้ วอร์ฮอล (Andy Warhol)
https://thematter.co/thinkers/art-you-can-eat/37406
“ในช่วงเวลาต่อมา แทนที่จะวาดรูปอาหารอย่างเดียว”
ศิลปินเริ่มหยิบเอาอาหารจริงๆ มาเป็นวัตถุดิบในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะดัง เช่น ในปี 1970 ศิลปินนักเสียดสีสังคมชาวสวิส-เยอรมัน ดีเตอร์ รอธ (Dieter Roth) หรือที่รู้จักกันในชื่อ Dieter Rot (เน่า) ทำงานศิลปะที่มีชื่อว่า Staple Cheese (A Race) ซึ่งเป็นการเล่นคำล้อเลียนคำว่า steeplechase ที่แปลว่า การขี่ม้าข้ามสิ่งกีดขวาง ผลงานศิลปะที่ประกอบด้วยกระเป๋าเดินทาง 37 ใบ ที่ใส่ชีสข้างในจนเต็มแน่น ส่วนชีสที่เหลือถูกบดบี้กับผนังห้องแสดงงานเพื่อให้มัน (แข่งกัน) ไหลหยดย้อยลงสู่พื้นห้อง สองสามวันหลังจากนิทรรศการเปิด ห้องแสดงงานก็อบอวลไปด้วยกลิ่นเหม็นสุดจะทานทน ในหอศิลป์เต็มไปด้วยหนอนเน่ายั้วเยี้ยยุ่บยับ และแมลงวันบินว่อนเป็นฝูง จนเจ้าหน้าที่สาธารณสุขต้องมาสั่งให้ปิดนิทรรศการ แต่ตัวศิลปินประกาศว่า อันที่จริง หนอนแมลงเหล่านี้นี่แหละ ที่เป็นผู้ชมที่แท้จริงของงานชุดนี้ของเขาต่างหาก
"หนึ่งในตัวอย่างอันโดดเด่นที่สุดของแนวคิดนี้ คือผลงานที่มีชื่อว่า ผัดไทย (Pad Thai) "
ของศิลปินไทย ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช (Rirkrit Tiravanija) ที่ทำขึ้นเป็นครั้งแรกในปี (1990) ในหอศิลป์ Paula Allen ในนิวยอร์ก โดยแทนที่เขาจะวาดรูปแขวนให้คนเข้ามาดูมาชมในหอศิลป์เหมือนที่ศิลปินปกติทั่วไปเขาทำกัน เขากลับเข้าไปทำอาหารแจกให้คนที่เข้ามาดูงานกินกันฟรีๆ แทน โดยยกครัวเข้าไปตั้งในหอศิลป์และทำผัดไทยเสิร์ฟคนดูในแกลเลอรีที่นิวยอร์ก และทิ้งหม้อ กะทะ จาน ชามเปรอะเปื้อนคราบอาหารเอาไว้ในหอศิลป์ ให้คนเข้ามาชมหลังจากวันเปิด ผลงานชิ้นนี้สร้างความงุนงงสงสัยให้กับคนดูที่หวังว่าจะได้ดูงานศิลปะในหอศิลป์ แต่กลับได้กินอาหารกันฟรีๆ แทน โดยหารู้ไม่ว่าไอ้ที่ตัวเองกำลังกลืนลงท้องเข้าไปนั่นแหละคืองานศิลปะ! ภายหลังเขาตั้งชื่องานชิ้นนี้ใหม่ว่า Untitled (Free) (1992/1995/2007/2011)
คือผลงานที่มีชื่อว่า ผัดไทย (Pad Thai) ของศิลปินไทย ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช (Rirkrit Tiravanija)
ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช เป็นศิลปินไทย ที่สร้างชื่อเสียงมาแล้วมากมายในเวทีระดับโลก ผลงานของฤกษ์ฤทธิ์มักเป็นผลงานแนว Conceptual Art และ Installation Art ที่ใช้กระบวนการทางความคิดผสมผสานศิลปะหลากหลายเทคนิค บางครั้งให้คนดูมีส่วนร่วมในงานของเขา “สร้างความหมาย” และ “ตีความ” ศิลปะด้วยตัวเองเป็น Relational Art ที่ไม่ได้เน้นความสำคัญของตัวศิลปิน
ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช (Rirkrit Tiravanija) https://www.artbangkok.com/?p=23845
ผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่ฤกษ์ฤทธิ์คือการทำอาหาร ในพื้นที่จัดแสดงงานศิลปะ ดังเช่น ผลงาน “ผัดไทย” ปี พ.ศ. 2533 ที่ศิลปินลงมือทำผัดไทยด้วยตัวเองในแกลเลอรี่ที่นิวยอร์ก โดยผู้ชมที่มาร่วมงานนิทรรศการไม่ได้เห็นวัตถุศิลปะใดๆ นอกจากได้ร่วมกินผัดไทย พูดคุย และพบปะสังสรรค์กับศิลปินและแขกคนอื่นๆที่มาร่วมงาน บางส่วนของผลงานแสดงเดี่ยว
“ขั้นตอนการคิดของความสำเเร็จด้านการสร้างศิลปะอาหาร”
ล่าสุดของฤกษ์ฤทธิ์ ใช้กระบวนการทางความคิดผสมผสานศิลปะหลากหลายเทคนิค บางครั้งให้คนดูมีส่วนร่วมในงานของเขา “สร้างความหมาย” และ “ตีความ” ศิลปะด้วยตัวเอง เป็น Relational Art ที่ไม่ได้เน้นความสำคัญของตัวศิลปิน พยายามจะหลีกเลี่ยงความเป็นจุดสนใจหรือเป็นเป้า สิ่งที่สำคัญที่สุดของ Relational Art คือ ช่วงเวลา หรือ Moment ที่ทุกสิ่งทุกอย่างเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันและกำลังดำเนินไป เขาต้องการที่จะปฏิเสธบางสิ่งที่เกิดขึ้นมา ปฏิเสธสิ่งที่เคยเรียนรู้มาเพื่อที่จะก้าวต่อไปข้างหน้า แสดงสภาวะทางสังคมและบทบาทของศิลปินต่อชุมชน เปลี่ยนบรรยากาศในสถานที่สร้างงานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ของหัวข้อที่เขาต้องการนำเสนอ ทำให้งานของเขามีความสัมพันธ์กับพื้นที่ที่แสดง ฤกษ์ฤทธิ์ทำงานแนวนี้มาเรื่อยๆ จนถึงปัจจุบัน ได้รับความสนใจและสร้างชื่อเสียงให้เขาเป็นอย่างมาก
ผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่ฤกษ์ฤทธิ์เป็นอย่างมาก คือ การนำเอาลักษณะเฉพาะบางอย่างของไทยไปนำเสนอ เช่น งานแสดง “ผัดไทย” ในปี 2532 ที่เขาลงมือปรุงผัดไทยเองในแกลเลอรี่ศิลปะที่นิวยอร์ก แขกที่มาร่วมงานเปิดนิทรรศการครั้งนั้นไม่ได้เห็นศิลปะวัตถุใดๆ นอกจากได้ร่วมกินผัดไทย พูดคุย และพบปะสังสรรค์กับศิลปินและแขกคนอื่นๆ ที่มาร่วมงาน
“เขาทำให้แกลเลอรี่ศิลปะกลายเป็นห้องอาหารไทย”
https://www.artbangkok.com/?p=23845ภาพผลงานตอนทำแกงมัสหมั่งเป็นการจัดแสดงการทำอาหารอีกหนึ่งผลงาน
การวิจารณ์ในตัวงานคือ ตัวงานได้สร้างความสุขให้ผู้คนได้จริงหรือไม่และรสชาติของอาหารทำให้ผู้คนนั้นมีความสุขได้จริงไหมในเรื่องของความรู้สึก
การสร้างอาหารมีบทบาทกับผู้คนในเรื่องรสชาติก็จริงแต่เมื่อความหมายของอาหารแต่ล่ะอย่างมีคาวมแตกต่างกันดังนั้นศิลปะด้านอาหารจึงมีความหมายต่อผู้คนไม่ว่าจะด้านความทรงจำด้านสังคมของชนชั้นอาททำไห้เห็นถึงคุณค่าทางอาหารได้ อย่างเช่นการทำอาหารของคนจนไห้คนรวยได้กินว่าจะมีความรู้สึกในงานแตกต่างออกไปอย่างไรกับคนจนๆที่ไม่เคยได้ลองชิมอาหารที่แพงๆวัตถุดิบหาอยากที่เป็นของคนชั้นสูงไห้คนไม่เคยกินได้กิน ว่าจะมีความรู้สึกในงานอย่างไรก็น่าจะทำให้งานดูแปลกมากขึ้น หากว่าผู้คนที่ได้แลกเปลี่ยนแล้วอาจเกิดความไม่ชอบเพราะมันอาจเป็นอาหารที่แพงแต่รสชาตินั้นไม่ถูกปาก หรือแม้แแต่อาหารที่ถูกๆแต่คนรวยอาจมองว่าไม่ถูกสุขอนามัยก็เกิดอาการไม่ชอบ เพราะอาจเกิดมาจากร่างกายและลิ้นรับรสนั้นสัมผัสที่ยาวนานที่ได้ลองสิ่งใหม่จึงไม่ชินด้ว
วิจารณ์โดย
นางสาวเจนจิรา ชินเป รหัสนิสิต 59120120คณะสถาปัตยกรรมศาตร์และศิลปกรรมศาสตร์สาขาศิลปะและการออกแบบมหาวิทยาลัยพะเยา