บริษัทประกันAIAบอกล้างสัญญาไม่จ่ายค่าสินไหมมรณะกรรมโดยให้เหตุผลว่าผู้เอาประกันปกปิดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอาชีพและรายได้ที่แท้จริง ซึ่งตอนตกลงทำสัญญาประกันชีวิตเราก้อกรอกรายละเอียดทุกอย่างตามความเป็นจริงคืออาชีพเกษตรกร บอกปัดแบบนี้เหมือนเหตุผลฟังไม่ขึ้นเกินไปหรือเปล่าค่ะเสียความีรู้สึกกับบริษัทนี้มากถ้าว่าอาชีพนี้ไม่รับหรือห้ามทำประกัน ทำไม่ระบบไม่ดีดตั้งแต่ตอนทำละคะว่าไม่รับทำ แบบนี้เหมือนตั้งใจไม่จ่ายเลย บอกก่อนนะคะตอนทำประกันชีวิตผู้เอาประกันไม่มีโรคตัวแทนบอก3เดือนคุ้มครอง100%แต่พอทำได้3เดือน2วันผู้เอาประกันเสียชีวิตด้วยโรคไตระยะสุดท้ายแต่ก่อนจะทำประกันผู้เอาประกันแข็งดีปกติทุกอย่างประวัติการรักษาก้อไม่มีเลยอยากถามว่าแล้วมาตรานี้เราสามารถใช้ได้มั้ยคะถ้าประกันบอกล้างสัญญาเราเรื่องอาชีพและรายได้ชึ่งตามจริงเราก้อไม่ได้ปกปิด
👉"ความรู้ของผู้รับประกันภัย หรือบทยกเว้น ม. 865
ม. 866 บัญญัติว่า “ถ้าผู้รับประกันภัยได้รู้ข้อความจริงดังกล่าวในมาตรา 865 นั้นก็ดี หรือรู้ว่าข้อแถลงความเป็นความเท็จก็ดี หรือควรจะได้รู้เช่นนั้นหากใช้ความระมัดระวังดังจะพึงคาดหมายได้แต่วิญญูชนก็ดี ท่านให้ฟังว่าสัญญานั้นเป็นอันสมบูรณ์”
แม้ผู้เอาประกันภัยหรือผู้ที่ถูกเอาประกันชีวิตจะได้ละเว้นไม่เปิดเผยข้อความจริงหรือแถลงเท็จกับผู้รับประกันภัย แต่ถ้าปรากฏว่าผู้รับประกันภัยได้รู้ข้อเท็จจริงที่ผู้เอาประกันละเว้นไม่แจ้งหรือได้แถลงให้ทราบเป็นเท็จหรือควรจะได้รู้หากใช้ความระมัดระวังดังเช่นวิญญูชน สัญญาเป็นอันสมบูรณ์ การได้รู้ของผู้รับประกันภัยแสดงว่าผู้รับประกันภัยสมัครใจเข้าทำสัญญากับผู้เอาประกันภัย ดังนั้นจะยกเรื่องการไม่เปิดเผยข้อความจริงหรือแถลงเท็จของอีกฝ่ายมาอ้างให้เกิดประโยชน์แก่ตนภายหลังไม่ได้ กฎหมายไม่ยอมให้ยกความไม่รู้เป็นข้อแก้ตัวเพื่ออ้างสัญญาเป็นโมฆียะ ดังนั้นแค่ควรรู้ได้ก็ต้องถือว่าผู้รับประกันภัยได้รู้ด้วย ตัวอย่างเช่น ก. เป็นชาวนาทำสัญญาประกันชีวิตโดยแจ้งรายได้สูงกว่าปกติความจริง เป็นการปกปิดความจริงหรือแถลงเท็จเกี่ยวกับรายได้จากการทำนา แต่กรณีนี้บริษัทประกันชีวิตอาจเปรียบเทียบฐานะของ ก. กับชาวนาคนอื่นๆได้ แต่ไม่ทำและได้สนับสนุนตามที่ ก. แจ้งมา ดังนั้นบริษัทประกันชีวิตจะมาอ้างภายหลังไม่ได้ว่าสัญญาประกันชีวิตไม่สมบูรณ์ (ฎ 2447/2516 )
บริษัทประกันบอกล้างสัญญา
👉"ความรู้ของผู้รับประกันภัย หรือบทยกเว้น ม. 865
ม. 866 บัญญัติว่า “ถ้าผู้รับประกันภัยได้รู้ข้อความจริงดังกล่าวในมาตรา 865 นั้นก็ดี หรือรู้ว่าข้อแถลงความเป็นความเท็จก็ดี หรือควรจะได้รู้เช่นนั้นหากใช้ความระมัดระวังดังจะพึงคาดหมายได้แต่วิญญูชนก็ดี ท่านให้ฟังว่าสัญญานั้นเป็นอันสมบูรณ์”
แม้ผู้เอาประกันภัยหรือผู้ที่ถูกเอาประกันชีวิตจะได้ละเว้นไม่เปิดเผยข้อความจริงหรือแถลงเท็จกับผู้รับประกันภัย แต่ถ้าปรากฏว่าผู้รับประกันภัยได้รู้ข้อเท็จจริงที่ผู้เอาประกันละเว้นไม่แจ้งหรือได้แถลงให้ทราบเป็นเท็จหรือควรจะได้รู้หากใช้ความระมัดระวังดังเช่นวิญญูชน สัญญาเป็นอันสมบูรณ์ การได้รู้ของผู้รับประกันภัยแสดงว่าผู้รับประกันภัยสมัครใจเข้าทำสัญญากับผู้เอาประกันภัย ดังนั้นจะยกเรื่องการไม่เปิดเผยข้อความจริงหรือแถลงเท็จของอีกฝ่ายมาอ้างให้เกิดประโยชน์แก่ตนภายหลังไม่ได้ กฎหมายไม่ยอมให้ยกความไม่รู้เป็นข้อแก้ตัวเพื่ออ้างสัญญาเป็นโมฆียะ ดังนั้นแค่ควรรู้ได้ก็ต้องถือว่าผู้รับประกันภัยได้รู้ด้วย ตัวอย่างเช่น ก. เป็นชาวนาทำสัญญาประกันชีวิตโดยแจ้งรายได้สูงกว่าปกติความจริง เป็นการปกปิดความจริงหรือแถลงเท็จเกี่ยวกับรายได้จากการทำนา แต่กรณีนี้บริษัทประกันชีวิตอาจเปรียบเทียบฐานะของ ก. กับชาวนาคนอื่นๆได้ แต่ไม่ทำและได้สนับสนุนตามที่ ก. แจ้งมา ดังนั้นบริษัทประกันชีวิตจะมาอ้างภายหลังไม่ได้ว่าสัญญาประกันชีวิตไม่สมบูรณ์ (ฎ 2447/2516 )