ทุกๆยุคย่อมมีการพัฒนาของเทคโนโลยีขึ้นทุกๆปีในทุกๆอุตสาหกรรม ไม่เว้นแม้กระทั่งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆก็เช่นกัน. โดยในวันนี้เราจะขอมาพูดถึง UFS หรือคำย่อของ “ Universal Flash Storage “ (ในรูปแบบที่จะเข้าใจง่ายมากที่สุด.) ที่ถูกออกแบบโดย JEDEC Solid State Technology Association ให้ Flash Storage นั้นมีความสามารถในการอ่าน-เขียน ได้รวดเร็วขึ้นและรวมไปถึงความแม่นยำในการเก็บข้อมูลที่ดีขึ้น.
UFS นั้นถูกออกแบบโดยใช้พื้นฐานมาจากสถาปัตยกรรม SCSI (Small Computer System Interface) แปลเป็นไทยง่ายๆเลยคือ “ส่วนต่อประสานระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก” จึงทำให้ UFS นั้นรองรับ SCSI Tagged Command Queuing
UFS เวอร์ชั่น 3.0 นั้นถูกพัฒนาต่อยอดจากเวอร์ชั่น 2.1ให้มี Layer Stack มากขึ้นจาก 48 เป็น 64 ใน UFS3.0 และยังกินพลังงานน้อยลงจาก 3.3V เป็น 2.8V ใน UFS3.0 สำหรับ Chip ที่ใช้ในการทำ Flash Memory นั้นเป็นแบบ 3-bit V-NAND จึงทำให้ UFS3.0 นั้นมี Bandwidth เฉลี่ยมากสุดที่ 2,666 MB/s
มาทำความรู้จักกับ UFS3.0 มาตรฐานแห่งอนาคตที่ชีวิตก้าวได้ไวขึ้น
ทุกๆยุคย่อมมีการพัฒนาของเทคโนโลยีขึ้นทุกๆปีในทุกๆอุตสาหกรรม ไม่เว้นแม้กระทั่งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆก็เช่นกัน. โดยในวันนี้เราจะขอมาพูดถึง UFS หรือคำย่อของ “ Universal Flash Storage “ (ในรูปแบบที่จะเข้าใจง่ายมากที่สุด.) ที่ถูกออกแบบโดย JEDEC Solid State Technology Association ให้ Flash Storage นั้นมีความสามารถในการอ่าน-เขียน ได้รวดเร็วขึ้นและรวมไปถึงความแม่นยำในการเก็บข้อมูลที่ดีขึ้น.
UFS นั้นถูกออกแบบโดยใช้พื้นฐานมาจากสถาปัตยกรรม SCSI (Small Computer System Interface) แปลเป็นไทยง่ายๆเลยคือ “ส่วนต่อประสานระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก” จึงทำให้ UFS นั้นรองรับ SCSI Tagged Command Queuing
UFS เวอร์ชั่น 3.0 นั้นถูกพัฒนาต่อยอดจากเวอร์ชั่น 2.1ให้มี Layer Stack มากขึ้นจาก 48 เป็น 64 ใน UFS3.0 และยังกินพลังงานน้อยลงจาก 3.3V เป็น 2.8V ใน UFS3.0 สำหรับ Chip ที่ใช้ในการทำ Flash Memory นั้นเป็นแบบ 3-bit V-NAND จึงทำให้ UFS3.0 นั้นมี Bandwidth เฉลี่ยมากสุดที่ 2,666 MB/s