หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
อยากจะเขียน blog แต่ใจไม่กล้า
กระทู้สนทนา
ศาสนาพุทธ
ศาสนา
ทำบุญ
หลวงพ่อปากดำ วัดหลวง อุบลราชธานี
การอยากจะบอกเล่าเรื่องราวอะไรสักอย่าง เพื่อให้ประสปผลสำเร็จในการบอกเล่า ก็คือ มีคนเข้ามาอ่าน เข้ามาติดตาม ใช่! เราคือ 1 ในหลายๆคนที่อยากจะบอกเล่าเรื่องราวนั้นๆที่เราสนใจและต้องการจะบอกเล่า ซึ่ง เรื่องที่เราสนใจมาตลอดชีวิต นั่นคือเรื่องราวของพระพุทธศาสนา ซึ่ง มันเป็นเรื่องที่ ละเอียดอ่อนมากๆ เสี่ยงมากๆในการที่จะนะเรื่องนี้มาพูดมาเขียน เพราะการบอกเล่าเรื่องราวทุกอย่าง มันต้องรู้จริง รู้ลึก แต่เรา ! เป็นเพียงแค่ ผู้ที่สนใจ รู้บ้าง จากการสั่งสอนและปฏิบัติตาม ปู่ ย่า ตา ยาย อาจผิดถูก แต่นั่นมันคือสิ่งที่เราสนใจและสืบสานมาจนทุกวันนี้ เป็นเวลา 30 กว่าปีเท่าช่วงอายุ จากเด็ก ทำบุญด้วยใจ จนปัจจุบัน พอมีปัจจัย เราก็ตั้งใจ และ สืบสานสิ่งเหล่านั้นต่อๆ มา ขออนุญาติใช้พื้นที่บอกบุญที่นี้ เผื่อท่านใดผ่านไปผ่านมาสามารถ กราบไหว้ได้
ก่อนอื่น กราบนมัสการ พระเจ้าใหญ่องค์หลวง พระคู่บ้านคู่เมืองอุบลฯอีก 1 องค์
และ ขออนุญาติบอกกล่าวถึง เรื่องราวการจัดสร้าง พระพุทธรูปจำลองขนาดใหญ่เพื่อสืบสานพระพุทธศาสนาอีก 1 องค์ (หลวงพ่อปากดำ)
ก่อนเริ่มสร้าง เราต้องขออนุญาติทางวัดเสียก่อนถึงจะเริ่มดำเนินการได้ เหตุจากทางวัดโดนหลอกเอาชื่อวัดไปออกใบบอกบุญ แต่ไม่ได้มาทำบุญ(ค่อเก็บเข้ากระเป๋าตัวเองโดยใช้ชื่อวัด อันนี้เรียกได้มั้ย ว่า มารศาสนา)
ก็ได้ใบนี้ขึ้นมาโดยชอบ
ขั้นตอนที่สอง ดำเนินการประสานช่างปั้น (เครดิตให้ ช่างปั้นที่ จังหวัด นครราชสีมา )
ภายในพระอุโบสถหลังที่จะประดิษฐานพระประธานที่จะเริ่มเททอง
องค์จริง (หลวงพ่อปากดำ) ซ้าย
องค์พิมพ์ (ขี้ผึ้งปั้น) ขวา
บวงสรวง ท้าวคำผง หรือ พิธี ขออนุญาติสร้างเพื่อตั้งไว้ ณ.พระอุโบสถ ที่วัดแห่งนี้ ซึ่งท่านเป็นผู้ก่อตั้ง
เครดิต:ท่านที่มาเป็นประธานในพิธีค่ะ (รูปกลางคือ ท่านเจ้าอาวาสค่ะ) มีศักดิ์เป็นหลวงปู่ ของเราเองค่ะ
พิธีเททอง
แต่ละขึ้นตอน ต้องทุ่มเทและปราณีตให้มากๆ เพราะสิ่งนี้ยิ่งใหญ่และต้องคงอยู่ไปอีกไม่รู้อีกกี่สิบกี่ร้อยปี
ขั้นตอนสุดท้าย ประกอบองค์พระ และยกขึ้นแท่น
จนแล้วเสร็จ ภารกิจของเราเสร็จแล้ว
ต่อไปคือ ขอให้เครดิต:ผู้เป็นหัวเรือใหญ่ในการรับบริจาคปิดทองจากผู้มีจิตศรัทธาทุกท่าน
และภาพนี้ สุดท้าย เสร็จสิ้นบริบูรณ์โดยแท้ เพราะ เราได้ทำพิธีกล่าวคำถวายเรียบร้อยแล้วเป็นการภายใน”ครอบครัว” ไม่ออกงาน ไม่มีประธาน ไม่เชิญแขก
ซึ่ง มันอาจจะเป็นมิจฉาทิฐิของเรานิดนึง ตรงที่ คนทำบุญ คนร่วมบุญ ต่างคนต้องลงชื่อที่ฐาน ต้องได้ประกาศชื่อออกสื่อ ต้องได้นั่งหน้าพิธี ต้องนั่นต้องนี่ ส่วนเรา “องค์พระทั้งองค์”ไม่ต้องอะไรเลย บุญอยู่ที่ใจ ได้เห็นคนเข้าไปกราบไหว้บูชา โดยเขาเหล่านั้นไม่รู้เลยว่าเราเป็นใคร เพราะเราไม่ประสงค์ สลักชื่อลงบนองค์พระหรือที่ใดๆเลย แต่เรา อิ่มใจจัง “โชคดีที่ได้เกิดเป็นคน” ท่านว่ากันว่า คนมีเงินน่ะมีเยอะ แต่พระอุโบสถที่จะประดิษฐานพระประทานมีน้อย ถึงมีเงินสร้างพระ แต่ไม่มีที่ประดิษฐาน เงินมากก็ไม่มีประโยชน์ อันนี้คงจะจริง
จนปัจจุบันนี้ ปี 62 แล้ว ยังมีคนขอร่วมบุญกับทางวัด โดยขอสลักชื่อเหนือประตูพระอุโบสถอยู่เลย “บุญของแต่ละคนก็อยู่ที่ความสบายใจ สบายใจที่จะประกาศ ในแบบเขา และความสบายใจในใจในแบบเรา (เราเรียกว่าความอิ่มใจคงไม่ผิด) “ว่ากันไม่ได้จริงๆ
สถานที่ :วัดหลวง จังหวัดอุบลราชธานี
ภาพเขียนดินสอ ตามอารมณ์......คิดถึงบ้านเกิด
"เด็กวิศวะ หัดวาดภาพ"
แก้ไขข้อความเมื่อ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
“วัดประดู่ฉิมพลี” บารมีศักดิ์สิทธิ์ หลวงปู่โต๊ะ
“วัดประดู่ฉิมพลี” บารมีศักดิ์สิทธิ์ หลวงปู่โต๊ะ"หลวงปู่โต๊ะ อินทสุวณฺโณ” หรือ “พระราชสังวราภิมณฑ์” อดีตเจ้าอาวาสแห่งวัดประดู่ฉิมพลี&nbs
Kaewapi
🙏 บุญสัมพันธ์! “เบลล่า ราณี” ประกอบพิธีสมโภช ‘สมเด็จพระนางพญาองค์ใหญ่’ วัดราชบูรณะ จ.พิษณุโลก ปิดทองคำแท้กว่า 2 แสนแผ่น
บุญสัมพันธ์! ‘เบลล่า’ สมโภช ‘สมเด็จพระนางพญาองค์ใหญ่’ ปิดทองคำแท้กว่า2แสนแผ่น "เบลล่า ราณี" จูงมือผู้จัดการส่วนตัว ร่วมประกอบพิธีบวงสรวงสมเด็จพระ
สมาชิกหมายเลข 4962221
สักการะพระบรมสารีริกธาตุ พระเขี้ยวแก้ว จากจีน
สักการะพระบรมสารีริกธาตุ พระเขี้ยวแก้ว จากจีน ระหว่างวันที่ 5 ธ.ค. 67 ถึง 14 ก.พ. 68 ณ ท้องสนามหลวง รัฐบาลไทยและรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน
สมาชิกหมายเลข 7580351
เมืองรอง มองให้ลึก 6 วัน...น่านไง ใช่เลย 18-23.12.24
ลมหนาวพัดมา ถึงเวลาออกเดินทางไปรับลงหนาวกันบนดอย ทริปนี้ลงตัวกันที่เมืองรอง ที่ต้องมองให้ลึกซี้ง นั่นก็คือ "เมืองน่าน" นั่นเอง เมืองรองที่มีดีทั้งศิลปะ&nbs
สายฟ้า พาเที่ยว
5 พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ที่ควรไหว้สักครั้งในชีวิต
5 พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ที่ควรไหว้สักครั้งในชีวิต 1. หลวงพ่อโสธร ตำนานพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ลอยน้ำ สู่พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองชาวฉะเชิงเทรา มีตำนานเล่าถึงพุทธานุภาพอันศักดิ์สิทธิว่า เดิมทีนั้น หลวงพ
Kaewapi
เป็นบุญตาในรอบ 34 ปี เปิดให้สักการะหลวงพ่อโสธร ช่วงบ่มรัก 1 เดือน #วัดหลวงพ่อโสธร
🎬 https://youtu.be/bdqxGc1p0jM __ 🙏🏼 ประวัติคร่าวๆ หลวงพ่อพุทธโสธร วัดโสธรวรารามวรวิหาร เป็นหนึ่งในห้าพระพุทธปฏิมาที่ขึ้นชื่อในเรื่องความ ศักดิ์สิทธิ์ มีปาฏิหาริย์สัมฤทธิ
VIEWnimal
สงกรานต์อีสาน หนองคาย ...สงกรานต์ริมฝั่งโขง
เมื่อกล่าวถึง เมือง หนองคาย เราคงคิดถึง เมืองหน้าด่านการค้าชายแดนกับประเทศลาว บ้านพี่เมืองน้อง ที่มีความใกล้ชิดกับประเทศไทยเป็นอย่างมาก ทั้งศิลปะ และวัฒนธรรม ประเพณี ที่คล้ายคลึงกัน โดยมีสะพานมิตรภาพ
kaku
ตักบาตรพระ 12,600 รูปและพิธีอัญเชิญรูปหล่อทองคำประดิษฐาน ณ วัดสองพี่น้อง วันจันทร์ที่ 25-26 มีนาคม พ.ศ. 2556
กำหนดการพิธีตักบาตรคณะสงฆ์ 12,600 รูป พิธีอัญเชิญรูปหล่อทองคำพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) พระผู้ปราบมาร เวียนรอบเมืองสุพรรณบุรี และประดิษฐาน ณ วัดสองพี่น้อง ในวันจันทร์ที่ 25 และวันอังคารที่ 26 มีนาคม
สมาชิกหมายเลข 712340
หล่อพระวันวิสาขบูชา ที่วัดวีระโชติ
ขอเชิญญาติธรรมกัลยาณมิตร ร่วมพิธีบำเพ็ญกุศลทำบุญเนื่องในวันวิสาขบูชา (ขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๖) วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๗ ณ วัดวีระโชติธรรมาราม อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 🔹️เวลา ๑๐.๐๐ น. ฟังธรรมเทศนาเน
สมาชิกหมายเลข 4039131
วัดแหลมสุวรรณาราม
วัดแหลมสุวรรณาราม เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำท่าจีน ในตำบลท่าฉลอม อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่
artbeeshop
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ศาสนาพุทธ
ศาสนา
ทำบุญ
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
อยากจะเขียน blog แต่ใจไม่กล้า
ก่อนอื่น กราบนมัสการ พระเจ้าใหญ่องค์หลวง พระคู่บ้านคู่เมืองอุบลฯอีก 1 องค์
และ ขออนุญาติบอกกล่าวถึง เรื่องราวการจัดสร้าง พระพุทธรูปจำลองขนาดใหญ่เพื่อสืบสานพระพุทธศาสนาอีก 1 องค์ (หลวงพ่อปากดำ)
ก่อนเริ่มสร้าง เราต้องขออนุญาติทางวัดเสียก่อนถึงจะเริ่มดำเนินการได้ เหตุจากทางวัดโดนหลอกเอาชื่อวัดไปออกใบบอกบุญ แต่ไม่ได้มาทำบุญ(ค่อเก็บเข้ากระเป๋าตัวเองโดยใช้ชื่อวัด อันนี้เรียกได้มั้ย ว่า มารศาสนา)
ก็ได้ใบนี้ขึ้นมาโดยชอบ
ขั้นตอนที่สอง ดำเนินการประสานช่างปั้น (เครดิตให้ ช่างปั้นที่ จังหวัด นครราชสีมา )
ภายในพระอุโบสถหลังที่จะประดิษฐานพระประธานที่จะเริ่มเททอง
องค์จริง (หลวงพ่อปากดำ) ซ้าย
องค์พิมพ์ (ขี้ผึ้งปั้น) ขวา
บวงสรวง ท้าวคำผง หรือ พิธี ขออนุญาติสร้างเพื่อตั้งไว้ ณ.พระอุโบสถ ที่วัดแห่งนี้ ซึ่งท่านเป็นผู้ก่อตั้ง
เครดิต:ท่านที่มาเป็นประธานในพิธีค่ะ (รูปกลางคือ ท่านเจ้าอาวาสค่ะ) มีศักดิ์เป็นหลวงปู่ ของเราเองค่ะ
พิธีเททอง
แต่ละขึ้นตอน ต้องทุ่มเทและปราณีตให้มากๆ เพราะสิ่งนี้ยิ่งใหญ่และต้องคงอยู่ไปอีกไม่รู้อีกกี่สิบกี่ร้อยปี
ขั้นตอนสุดท้าย ประกอบองค์พระ และยกขึ้นแท่น
จนแล้วเสร็จ ภารกิจของเราเสร็จแล้ว
ต่อไปคือ ขอให้เครดิต:ผู้เป็นหัวเรือใหญ่ในการรับบริจาคปิดทองจากผู้มีจิตศรัทธาทุกท่าน
และภาพนี้ สุดท้าย เสร็จสิ้นบริบูรณ์โดยแท้ เพราะ เราได้ทำพิธีกล่าวคำถวายเรียบร้อยแล้วเป็นการภายใน”ครอบครัว” ไม่ออกงาน ไม่มีประธาน ไม่เชิญแขก
ซึ่ง มันอาจจะเป็นมิจฉาทิฐิของเรานิดนึง ตรงที่ คนทำบุญ คนร่วมบุญ ต่างคนต้องลงชื่อที่ฐาน ต้องได้ประกาศชื่อออกสื่อ ต้องได้นั่งหน้าพิธี ต้องนั่นต้องนี่ ส่วนเรา “องค์พระทั้งองค์”ไม่ต้องอะไรเลย บุญอยู่ที่ใจ ได้เห็นคนเข้าไปกราบไหว้บูชา โดยเขาเหล่านั้นไม่รู้เลยว่าเราเป็นใคร เพราะเราไม่ประสงค์ สลักชื่อลงบนองค์พระหรือที่ใดๆเลย แต่เรา อิ่มใจจัง “โชคดีที่ได้เกิดเป็นคน” ท่านว่ากันว่า คนมีเงินน่ะมีเยอะ แต่พระอุโบสถที่จะประดิษฐานพระประทานมีน้อย ถึงมีเงินสร้างพระ แต่ไม่มีที่ประดิษฐาน เงินมากก็ไม่มีประโยชน์ อันนี้คงจะจริง
จนปัจจุบันนี้ ปี 62 แล้ว ยังมีคนขอร่วมบุญกับทางวัด โดยขอสลักชื่อเหนือประตูพระอุโบสถอยู่เลย “บุญของแต่ละคนก็อยู่ที่ความสบายใจ สบายใจที่จะประกาศ ในแบบเขา และความสบายใจในใจในแบบเรา (เราเรียกว่าความอิ่มใจคงไม่ผิด) “ว่ากันไม่ได้จริงๆ
สถานที่ :วัดหลวง จังหวัดอุบลราชธานี