เพิ่งได้รับความอนุเคราะห์จากคุณมนุษย์จับฉ่าย ถึงทฤษฎีในจัดสรรจำนวนเก้าอี้ คือ The Proportional Representation should be calculatetd by the Divisor method with rounding down (D'Hondt/Hamilton).
หาอ่านรายละเอียดได้ตาม https://www.coconino.edu/resources/files/pdfs/academics/arts-and-sciences/MAT142/Chapter_9_Apportionment.pdf หน้า 315-316
ซึ่ง hamilton's method คือวิธีที่นำมาใช้จัดสรรสส.รายชื่อ ในกรณีไม่มีจำนวนเก้าอี้เกิน (4) นั่นคือ เอาจำนวนเต็มปัดลง (rounddown) มาจัดสรร เมื่อไม่ครบจึงจัดสรรโดยปัดเศษ จากมากไปหาน้อย
ส่วนวิธีจัดสรรสส.รายชื่อ ในกรณีมีจำนวนเก้าอี้เกิน (5) ซึ่งให้จัดสรร....ตามอัตราส่วน น่าจะเป็น jefferson's method นั่นคือ ในกรณีที่ ค่า k ที่ใช้มีผลทำให้ผลรวมจำนวนเต็มปัดลง rounddown มากกว่า 150 ในกรณีนี้ คือ 152 ก็หาค่า k ใหม่ ที่มากขึ้นมาปรับจนมีจำนวนสส.รายชื่อ แบบจำนวนเต็มปัดลง ไกล้เคียง 150 มากที่สุด อาจเป็น 149 150 151 152
หากได้ 150 ก็จบ หากมากกว่า 150 ก็ไป (7) หากน้อยกว่า 150 ก็ไป (6)
ตาม flowchart นี้

เมื่อทำเป็นตาราง หลังจากปรับอัตราส่วนที่เหมาะสม จะได้อัตราส่วนที่มาคูณ คือ 0.9970 ซึ่งได้ สส.รายชื่อจำนวนเต็มปัดลง 150 คนพอดี ไม่ต้องไป (6)(7) จบที่ (5)
และได้ สส.ที่แต่ละพรรคการเมืองจะพึงมีได้ เมื่อคำนวนตาม (5)(6)(7) ที่ช่องรวม สส.
ทั้งนี้ ตัวบทที่บอกว่า " (4) ภายใต้บังคับ (5) " ผมตีความว่า
ถ้า สส.เขตมากกว่าหรือเท่ากับสส.พึงมี ก็คือทำ (5) ถ้าไม่ใช่คือ ทำ (4)
การจัดสรรสส.รายชื่อ ตามพรป.ม.128 ที่มีทฤษฎี ที่เราไม่รู้จักกัน ซ่อนอยู่
หาอ่านรายละเอียดได้ตาม https://www.coconino.edu/resources/files/pdfs/academics/arts-and-sciences/MAT142/Chapter_9_Apportionment.pdf หน้า 315-316
ซึ่ง hamilton's method คือวิธีที่นำมาใช้จัดสรรสส.รายชื่อ ในกรณีไม่มีจำนวนเก้าอี้เกิน (4) นั่นคือ เอาจำนวนเต็มปัดลง (rounddown) มาจัดสรร เมื่อไม่ครบจึงจัดสรรโดยปัดเศษ จากมากไปหาน้อย
ส่วนวิธีจัดสรรสส.รายชื่อ ในกรณีมีจำนวนเก้าอี้เกิน (5) ซึ่งให้จัดสรร....ตามอัตราส่วน น่าจะเป็น jefferson's method นั่นคือ ในกรณีที่ ค่า k ที่ใช้มีผลทำให้ผลรวมจำนวนเต็มปัดลง rounddown มากกว่า 150 ในกรณีนี้ คือ 152 ก็หาค่า k ใหม่ ที่มากขึ้นมาปรับจนมีจำนวนสส.รายชื่อ แบบจำนวนเต็มปัดลง ไกล้เคียง 150 มากที่สุด อาจเป็น 149 150 151 152
หากได้ 150 ก็จบ หากมากกว่า 150 ก็ไป (7) หากน้อยกว่า 150 ก็ไป (6)
ตาม flowchart นี้
เมื่อทำเป็นตาราง หลังจากปรับอัตราส่วนที่เหมาะสม จะได้อัตราส่วนที่มาคูณ คือ 0.9970 ซึ่งได้ สส.รายชื่อจำนวนเต็มปัดลง 150 คนพอดี ไม่ต้องไป (6)(7) จบที่ (5)
และได้ สส.ที่แต่ละพรรคการเมืองจะพึงมีได้ เมื่อคำนวนตาม (5)(6)(7) ที่ช่องรวม สส.
ทั้งนี้ ตัวบทที่บอกว่า " (4) ภายใต้บังคับ (5) " ผมตีความว่า
ถ้า สส.เขตมากกว่าหรือเท่ากับสส.พึงมี ก็คือทำ (5) ถ้าไม่ใช่คือ ทำ (4)