คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
>>> ความสูง/ต่ำในที่นี้หมายถึงอะไรครับ ทำไมไม่เรียกว่าอักษรชุดที่ ๑/๒/๓ ผมว่ามัน makes sense กว่าอีก
อักษรสูง อักษรกลาง อักษรต่ำ
แยกกันด้วย เสียง ซึ่งจะชัดเจน และช่วยให้จำง่าย สื่อสาร เข้าใจได้ง่ายกว่า การแยกเป็นชุดที่ 1,2,3 ครับ
เช่น ถ ถือเป็นอักษรสูง เพราะว่าเป็นเสียงสูง (เสียงจัตวา)
ส่วนอักษรต่ำกับอักษรกลาง คือ เป็นเสียงสามัญ
ทีนี้ ก็มาแยกเป็นอักษรต่ำ ก็คืออักษรที่มีเสียงคู่กับอักษรสูง ครับ
เช่น ท ถือเป็นอักษร ต่ำ
ดังนั้น ด้วยวิธีการที่มีอยู่แล้ว
That makes sense.
มากกว่าการไปเรียกเป็นแบบอื่น ๆ ครับ
>>>> อีกประเด็นนึง ทำไมถึงเรียกว่าคำเป็น/ตาย ไม่เรียกว่าพยางค์เป็น/ตาย การจะดูว่ามันเป็นหรือตายเราดูที่พยางค์ ไม่ใช่คำสักหน่อย
คุณเข้าใจถูกต้อง แล้วครับ
การดูคำเป็น / คำตาย
เราดูกันที่ พยางค์
แต่ การที่เรียกว่า "คำเป็น/คำตาย" สาเหตุก็ด้วยความที่ คำไทยเดิม ๆ คือ คำโดด ซึ่งมีพยางค์เดียว ครับ
อักษรสูง อักษรกลาง อักษรต่ำ
แยกกันด้วย เสียง ซึ่งจะชัดเจน และช่วยให้จำง่าย สื่อสาร เข้าใจได้ง่ายกว่า การแยกเป็นชุดที่ 1,2,3 ครับ
เช่น ถ ถือเป็นอักษรสูง เพราะว่าเป็นเสียงสูง (เสียงจัตวา)
ส่วนอักษรต่ำกับอักษรกลาง คือ เป็นเสียงสามัญ
ทีนี้ ก็มาแยกเป็นอักษรต่ำ ก็คืออักษรที่มีเสียงคู่กับอักษรสูง ครับ
เช่น ท ถือเป็นอักษร ต่ำ
ดังนั้น ด้วยวิธีการที่มีอยู่แล้ว
That makes sense.
มากกว่าการไปเรียกเป็นแบบอื่น ๆ ครับ
>>>> อีกประเด็นนึง ทำไมถึงเรียกว่าคำเป็น/ตาย ไม่เรียกว่าพยางค์เป็น/ตาย การจะดูว่ามันเป็นหรือตายเราดูที่พยางค์ ไม่ใช่คำสักหน่อย
คุณเข้าใจถูกต้อง แล้วครับ
การดูคำเป็น / คำตาย
เราดูกันที่ พยางค์
แต่ การที่เรียกว่า "คำเป็น/คำตาย" สาเหตุก็ด้วยความที่ คำไทยเดิม ๆ คือ คำโดด ซึ่งมีพยางค์เดียว ครับ
แสดงความคิดเห็น
ทำไมถึงเรียกว่าอักษรสูง/กลาง/ต่ำ คำเป็น/ตาย
อีกประเด็นนึง ทำไมถึงเรียกว่าคำเป็น/ตาย ไม่เรียกว่าพยางค์เป็น/ตาย การจะดูว่ามันเป็นหรือตายเราดูที่พยางค์ ไม่ใช่คำสักหน่อย