ผมกำลังหมายถึงคาถาที่มีคำสวดแบบนี้ครับ
บูระพารัสมิง พระพุทธะคุณัง.. สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์.. รักขันตุ สุรักขันตุ และสวดต่อไป เปลี่ยนคำจากบูรพาเรื่อย ๆ จนครบแปดทิศ บวกเพิ่มอากาศกับพื้นดิน (ปฐพี) กลายเป็นสิบทิศ
ผมมีข้อสงสัยตามหัวข้อที่ตั้งกระทู้ เชื่อว่าใครก็ตามถ้าลองอ่านถ้อยคำของคาถานี้ดี ๆ ก็อาจฉุกคิดขึ้นมาบ้างว่าถ้าแปลหรือถอดความแล้วจะมีความหมายว่าอย่างไรกันแน่ เพราะส่วนตัวผมสงสัยว่าถ้อยคำของคาถานี้อาจไม่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ภาษาบาลี อ่านแล้วเหมือนเอานั่นเอานี่มาแปะ ๆ รวมกันไว้ให้ดูกิ๊บเก๋ยูเรก้าแฟนตาซีมากกว่าจะเป็นบทสวดมนต์ รบกวนผู้รู้ประวัติของคาถาและผู้รู้ภาษาบาลีช่วยไขข้อข้องใจนี้ด้วยครับ
ใครแต่งคาถาป้องกันภัยสิบทิศ (โพธิบาท)
บูระพารัสมิง พระพุทธะคุณัง.. สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์.. รักขันตุ สุรักขันตุ และสวดต่อไป เปลี่ยนคำจากบูรพาเรื่อย ๆ จนครบแปดทิศ บวกเพิ่มอากาศกับพื้นดิน (ปฐพี) กลายเป็นสิบทิศ
ผมมีข้อสงสัยตามหัวข้อที่ตั้งกระทู้ เชื่อว่าใครก็ตามถ้าลองอ่านถ้อยคำของคาถานี้ดี ๆ ก็อาจฉุกคิดขึ้นมาบ้างว่าถ้าแปลหรือถอดความแล้วจะมีความหมายว่าอย่างไรกันแน่ เพราะส่วนตัวผมสงสัยว่าถ้อยคำของคาถานี้อาจไม่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ภาษาบาลี อ่านแล้วเหมือนเอานั่นเอานี่มาแปะ ๆ รวมกันไว้ให้ดูกิ๊บเก๋ยูเรก้าแฟนตาซีมากกว่าจะเป็นบทสวดมนต์ รบกวนผู้รู้ประวัติของคาถาและผู้รู้ภาษาบาลีช่วยไขข้อข้องใจนี้ด้วยครับ