สวัสดีค่ะจากกระทู้นี้
https://ppantip.com/topic/38710114
จขกท ได้แสดงวิธีการหาสสปาร์ตี้ลิสต์ให้ดูอย่างละเอียด แต่ก็มีเสียงคัดค้านอยู่บ้าง
เท่าที่จับใจความได้จะมีอยู่ 2 ประเด็นใหญ่ๆนั่นก็คือ ตัวเลขที่ใช้ในการปรับสัดส่วนของสส เพิ่งได้ ควรเป็นตัวเลขทศนิยมด้วยหรือเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม
วันนี้จะมาอธิบายให้เห็นภาพง่ายๆ โดยที่จะไม่พูดถึงการคำนวนโดยละเอียดในกระทู้นี้ แต่จะพูดถึงหลักคณิตศาสตร์ทั่วไป
แต่จะขออ้างจากผลการคำนวณเพื่อให้เห็นคอลัมน์ที่กำลังพูดถึงดังนี้
กรณีที่หนึ่ง ใช้ตัวเลข ทศนิยมในการคูณแต่ใช้ตัวเลข 152 ในการหาร เพื่อปรับสัดส่วนสสพึ่งได้
กรณีแรก มีผู้เสนอความเห็นว่า การปรับสสพึ่งได้นั้นควรใช้คอลัมน์ ๓(G) ที่เป็นทศนิยมมาคูณกับตัวเลข 152 คอลัมน์๔ (H) ที่เป็นจำนวนสสบัญชีรายชื่อที่เกิน 150
สูตรนี้ จขกท ขอเสียมารยาท
ฟันธงว่าผิดหลักคณิตศาสตร์ เพราะการปรับ สัดส่วนนั้นจำเป็นต้องใช้ผลรวมของตัวประกอบที่เราต้องการนำมาหาสัดส่วนใหม่ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
การนำตัวเลข ต่างคอลัมน์ มาหารด้วยตัวเลขที่ไม่ใช่ผลรวมของมันจะทำให้มาตราส่วนผิดไป
ซตพ ค่ะ
กรณีที่สอง การนำตัวเลขทศนิยมมาใช้และหารด้วยผลรวมของช่องทศนิยมนั้น
เนื่องจากทางกกต เองได้ให้สัมภาษณ์ไว้กับสื่อช่องหนึ่ง แล้วเอ่ยตัวเลขเข้าคร่าวๆมาว่า นำตัวอาหารที่เป็นเลขทศนิยม 170 กว่าๆ ซึ่งหมายถึงช่อง ๓ (G)
ในกรณีนี้ ต้องมองว่า สัดส่วนที่นำมาเป็นตัวเลขในช่องสามนั้นเป็นสัดส่วนที่มีเสียงของพรรคเพื่อไทยร่วมด้วย กล่าวคือ เป็นสัดส่วนที่ถูกหาร ด้วยเลข 71065 ถึงแม้ว่าผลรวมนั้นจะตัดส่วนที่เป็นของพรรคเพื่อไทยออกไปแล้วก็ตาม
ดังจะเปรียบได้กับแผนภาพดังนี้
ดังภาพจะเห็นว่า เมื่อปรับสัดส่วนของตัวเลขที่มีพรรคเพื่อไทยเป็นตัวประกอบ ช่องว่างของพรรคเพื่อไทยที่ไม่ถูกจัดสรรสสรายชื่อ จะยังคงอยู่แม้จะมีขนาดเล็กลงซึ่งเหมือนกันกับพรรคอนาคตใหม่ที่หลังจากการคำนวณแล้วจะได้สส ลดลงไปด้วย
ช่องโหว่นี้จะทำให้เกิดอะไร ก็จะทำให้ จำนวนของสสที่ถูกจัดสรรมีจำนวนเล็กลง และมีพื้นที่ให้พรรคทศนิยม ได้ถูกจัดสรร ในขั้นตอนนี้ อีกครั้ง
ซึ่งในความเป็นจริง พรรคทศนิยมเหล่านั้น ถูกตัดออกตั้งแต่แรกแล้ว
(เพราะตัวเลข 176 หมายรวมถึงสส ที่ถูกคัดออกไปทั้งหมด เพียงแต่ตัดสิทธิ์พรรคเพื่อไทยเพราะสสเขตมีมากกว่า สสพึงมี)
ในกรณีนี้ จขกท จึงไม่เห็นด้วย เพราะตามคะแนนเสียงที่แท้จริง สส/71065 เสียง พรรคเหล่านั้น ถูกตัดสิทธิ์หรือ disqualified ไปแล้ว
รวมทั้งช่องว่างหรือที่นั่งของพรรคเพื่อไทยด้วย
อย่าลืมว่าการหาสัดส่วนบัญชีรายชื่อคืน 150 ที่นั่งในสภา เสียงของเพื่อไทยจะมีเท่าไหร่ไม่สน แต่ 150 ที่นั่งนี้ ไม่มีที่ว่างสำหรับพรรคเพื่อไทย
จึงไม่มีความจำเป็นต้องรักษาสัดส่วนนี้เอาไว้อีก
กรณีที่สาม ใช้จำนวนสสพึงได้ ที่เป็นจำนวนเต็ม เพราะเป็นตัวเลขที่ทำให้เกิดโอเวอร์ลิมิต
ในกรณีนี้ไม่ได้ใช้การตีความในตัวบทกฏหมาย แต่เป็นการใช้หลักการทางคณิตศาสตร์ที่แสดงเอาไว้ให้เห็นในกรณีที่หนึ่ง
อีกทั้งยังเป็นการลดช่องว่างก่อนการปรับสัดส่วนที่เป็นข้อเสียหรือช่องโหว่ของการคำนวณในกรณีที่สอง
วิธีการคำนวณแบบนี้จะเห็นได้ว่า สัดส่วนก่อนการปรับและหลังการปรับมีอัตราที่เท่ากันและคงที่เสมอ เพียงแต่เมื่อ
หลังจากการปรับสัดส่วนแล้วอาจจะมีทศนิยมเกิดขึ้น ก็ต้องจัดสรรให้กับผู้ที่มี ทศนิยมมากกว่าก่อน
เป็นอย่างไรบ้างคะ หลังจากที่ได้พิจารณาทั้งสามกรณีแล้ว เพื่อนๆเห็นว่า จขกท อธิบายตรงไหนผิดหลักการบ้าง
หรือเห็นพ้องต้องกันกับ จขกท อย่างไรบ้าง ลองให้ความเห็นกันดูนะคะ
แจกแจงสูตรการคิดบัญชีรายชื่อ 3 กรณี ใช่ไม่ใช่อย่างไรอยู่ที่ท่านพิจารณา
จขกท ได้แสดงวิธีการหาสสปาร์ตี้ลิสต์ให้ดูอย่างละเอียด แต่ก็มีเสียงคัดค้านอยู่บ้าง
เท่าที่จับใจความได้จะมีอยู่ 2 ประเด็นใหญ่ๆนั่นก็คือ ตัวเลขที่ใช้ในการปรับสัดส่วนของสส เพิ่งได้ ควรเป็นตัวเลขทศนิยมด้วยหรือเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม
วันนี้จะมาอธิบายให้เห็นภาพง่ายๆ โดยที่จะไม่พูดถึงการคำนวนโดยละเอียดในกระทู้นี้ แต่จะพูดถึงหลักคณิตศาสตร์ทั่วไป
แต่จะขออ้างจากผลการคำนวณเพื่อให้เห็นคอลัมน์ที่กำลังพูดถึงดังนี้
กรณีที่หนึ่ง ใช้ตัวเลข ทศนิยมในการคูณแต่ใช้ตัวเลข 152 ในการหาร เพื่อปรับสัดส่วนสสพึ่งได้
กรณีแรก มีผู้เสนอความเห็นว่า การปรับสสพึ่งได้นั้นควรใช้คอลัมน์ ๓(G) ที่เป็นทศนิยมมาคูณกับตัวเลข 152 คอลัมน์๔ (H) ที่เป็นจำนวนสสบัญชีรายชื่อที่เกิน 150
สูตรนี้ จขกท ขอเสียมารยาทฟันธงว่าผิดหลักคณิตศาสตร์ เพราะการปรับ สัดส่วนนั้นจำเป็นต้องใช้ผลรวมของตัวประกอบที่เราต้องการนำมาหาสัดส่วนใหม่ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
การนำตัวเลข ต่างคอลัมน์ มาหารด้วยตัวเลขที่ไม่ใช่ผลรวมของมันจะทำให้มาตราส่วนผิดไป
ซตพ ค่ะ
กรณีที่สอง การนำตัวเลขทศนิยมมาใช้และหารด้วยผลรวมของช่องทศนิยมนั้น
เนื่องจากทางกกต เองได้ให้สัมภาษณ์ไว้กับสื่อช่องหนึ่ง แล้วเอ่ยตัวเลขเข้าคร่าวๆมาว่า นำตัวอาหารที่เป็นเลขทศนิยม 170 กว่าๆ ซึ่งหมายถึงช่อง ๓ (G)
ในกรณีนี้ ต้องมองว่า สัดส่วนที่นำมาเป็นตัวเลขในช่องสามนั้นเป็นสัดส่วนที่มีเสียงของพรรคเพื่อไทยร่วมด้วย กล่าวคือ เป็นสัดส่วนที่ถูกหาร ด้วยเลข 71065 ถึงแม้ว่าผลรวมนั้นจะตัดส่วนที่เป็นของพรรคเพื่อไทยออกไปแล้วก็ตาม
ดังจะเปรียบได้กับแผนภาพดังนี้
ดังภาพจะเห็นว่า เมื่อปรับสัดส่วนของตัวเลขที่มีพรรคเพื่อไทยเป็นตัวประกอบ ช่องว่างของพรรคเพื่อไทยที่ไม่ถูกจัดสรรสสรายชื่อ จะยังคงอยู่แม้จะมีขนาดเล็กลงซึ่งเหมือนกันกับพรรคอนาคตใหม่ที่หลังจากการคำนวณแล้วจะได้สส ลดลงไปด้วย
ช่องโหว่นี้จะทำให้เกิดอะไร ก็จะทำให้ จำนวนของสสที่ถูกจัดสรรมีจำนวนเล็กลง และมีพื้นที่ให้พรรคทศนิยม ได้ถูกจัดสรร ในขั้นตอนนี้ อีกครั้ง
ซึ่งในความเป็นจริง พรรคทศนิยมเหล่านั้น ถูกตัดออกตั้งแต่แรกแล้ว
(เพราะตัวเลข 176 หมายรวมถึงสส ที่ถูกคัดออกไปทั้งหมด เพียงแต่ตัดสิทธิ์พรรคเพื่อไทยเพราะสสเขตมีมากกว่า สสพึงมี)
ในกรณีนี้ จขกท จึงไม่เห็นด้วย เพราะตามคะแนนเสียงที่แท้จริง สส/71065 เสียง พรรคเหล่านั้น ถูกตัดสิทธิ์หรือ disqualified ไปแล้ว
รวมทั้งช่องว่างหรือที่นั่งของพรรคเพื่อไทยด้วย
อย่าลืมว่าการหาสัดส่วนบัญชีรายชื่อคืน 150 ที่นั่งในสภา เสียงของเพื่อไทยจะมีเท่าไหร่ไม่สน แต่ 150 ที่นั่งนี้ ไม่มีที่ว่างสำหรับพรรคเพื่อไทย
จึงไม่มีความจำเป็นต้องรักษาสัดส่วนนี้เอาไว้อีก
กรณีที่สาม ใช้จำนวนสสพึงได้ ที่เป็นจำนวนเต็ม เพราะเป็นตัวเลขที่ทำให้เกิดโอเวอร์ลิมิต
ในกรณีนี้ไม่ได้ใช้การตีความในตัวบทกฏหมาย แต่เป็นการใช้หลักการทางคณิตศาสตร์ที่แสดงเอาไว้ให้เห็นในกรณีที่หนึ่ง
อีกทั้งยังเป็นการลดช่องว่างก่อนการปรับสัดส่วนที่เป็นข้อเสียหรือช่องโหว่ของการคำนวณในกรณีที่สอง
วิธีการคำนวณแบบนี้จะเห็นได้ว่า สัดส่วนก่อนการปรับและหลังการปรับมีอัตราที่เท่ากันและคงที่เสมอ เพียงแต่เมื่อ
หลังจากการปรับสัดส่วนแล้วอาจจะมีทศนิยมเกิดขึ้น ก็ต้องจัดสรรให้กับผู้ที่มี ทศนิยมมากกว่าก่อน
เป็นอย่างไรบ้างคะ หลังจากที่ได้พิจารณาทั้งสามกรณีแล้ว เพื่อนๆเห็นว่า จขกท อธิบายตรงไหนผิดหลักการบ้าง
หรือเห็นพ้องต้องกันกับ จขกท อย่างไรบ้าง ลองให้ความเห็นกันดูนะคะ