เท่าที่พอทราบมา ต้นทุนรถไฟความเร็วสูง 1 สาย อยู่ประมาณ 200,000-400,000 ล้าน ต้นทุนสายอีสานกรุงเทพ-หนองคายอยู่ที่ราวๆ 400,000 ล้าน ส่วนไฮเปอร์ลูปที่บอกว่าถูกกว่า ก็ไม่แน่ใจว่าเท่าไร แต่เมื่อมองจากจำนวนเงินที่สร้างรถไฟความเร็วสูงแล้ว นำมาเร่งทุ่มทุนสร้างรถไฟทางคู่ให้ครอบคลุมทั่วประเทศก่อนไม่ดีกว่าหรือ อรรถประโยชน์ก็ไม่ต่างกัน
และผลการศึกษารถไฟทางคู่หลายสายมีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่ชัดเจนกว่ารถไฟความเร็วสูง
รถไฟทางคู่เด่นชัย-เชียงใหม่ การศึกษาความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ พบว่ามีอัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ (EIRR) 12.06%
https://www.prachachat.net/local-economy/news-686
โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงฉะเชิงเทรา-คลองสิบเก้า-แก่งคอย
ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
FIRR = 6.75 %
EIRR = 27.31 %
http://procurement.railway.co.th/resultproject/project_doubletrack.asp?result=135609
ชี้รถไฟทางคู่อีอีซี ดันเศรษฐกิจ12%
https://www.posttoday.com/economy/582953
รถไฟทางคู่ 9 หมื่นล้าน ชัยภูมิ-เลยกระตุ้นศก.อีสานเติบโตแข็งแกร่ง
สายสีม่วงเส้นทางจัตุรัส-ชัยภูมิ-หนองบัวลำภู-เลย โดยมีอัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ 9.74% มีมูลค่าการลงทุนก่อสร้างเบื้องต้น 93,467 ล้านบาท ส่วนเส้นทางสายลำนารายณ์-เพชรบูรณ์-เลย-หนองบัวลำภู มีอัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ น้อยกว่า 8.30% มูลค่าการลงทุนสูงถึง 138,002 ล้านบาท
https://www.posttoday.com/economy/568982
ดูแล้วต่างจากรถไฟความเร็วสูงที่ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าการลงทุนที่ไม่ชัดเจน
ดร.สามารถ ถาม "ซีพีใจถึงกล้าเสี่ยงลงทุน" ???
https://talk.mthai.com/inbox/470591.html
เปิดผลการศึกษารถไฟไทย-จีน'เจ๊ง'ลูกเดียว!
https://youtu.be/tsYJTdHhEhk
http://www.anticorruption.in.th/2016/th/detail/407/4/เปิดผลการศึกษารถไฟไทย-จีน'เจ๊ง'ลูกเดียว!-
'ญี่ปุ่น' ย้ำไทย ไม่ร่วมโครงการรถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ วงเงิน 5.26 แสนล้าน
https://voicetv.co.th/read/WNdHqz5Ht
ดูไปแล้ว โครงการรถไฟทางคู่ที่มีการศึกษาแล้วว่ามีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่ชัดเจนกว่ารถไฟความเร็วสูง เป็นโครงการที่ควรจะเร่งสร้างให้เสร็จโดยเร็ว แต่ดูเหตุการณ์ที่ผ่านมาเหมือนกับว่า จะเร่งสร้างรถไฟความเร็วสูงมากกว่า การก่อสร้างรถไฟทางคู่ค่อนข้างล่าช้า ทั้งที่ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าของรถไฟความเร็วสูงยังไม่ชัดเจนนัก ก็น่าจะให้ความสำคัญกับการสร้างรถไฟทางคู่มาเป็นอันดับ 1 ให้สร้างทางคู่ครอบคลุมทั่วประเทศให้เสร็จโดยเร็ว แล้วไฮเปอร์ลูปกับรถไฟความเร็วสูงถึงให้ความสำคัญรองลงมาหรือสร้างให้เสร็จช้ากว่ารถไฟทางคู่ก็ได้
รถไฟความเร็วสูง,ไฮเปอร์ลูป,รถไฟทางคู่ครอบคลุมทั่วประเทศ อะไรเกิดก่อนแล้วสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจได้ดีสุด
และผลการศึกษารถไฟทางคู่หลายสายมีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่ชัดเจนกว่ารถไฟความเร็วสูง
รถไฟทางคู่เด่นชัย-เชียงใหม่ การศึกษาความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ พบว่ามีอัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ (EIRR) 12.06%
https://www.prachachat.net/local-economy/news-686
โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงฉะเชิงเทรา-คลองสิบเก้า-แก่งคอย
ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
FIRR = 6.75 %
EIRR = 27.31 %
http://procurement.railway.co.th/resultproject/project_doubletrack.asp?result=135609
ชี้รถไฟทางคู่อีอีซี ดันเศรษฐกิจ12%
https://www.posttoday.com/economy/582953
รถไฟทางคู่ 9 หมื่นล้าน ชัยภูมิ-เลยกระตุ้นศก.อีสานเติบโตแข็งแกร่ง
สายสีม่วงเส้นทางจัตุรัส-ชัยภูมิ-หนองบัวลำภู-เลย โดยมีอัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ 9.74% มีมูลค่าการลงทุนก่อสร้างเบื้องต้น 93,467 ล้านบาท ส่วนเส้นทางสายลำนารายณ์-เพชรบูรณ์-เลย-หนองบัวลำภู มีอัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ น้อยกว่า 8.30% มูลค่าการลงทุนสูงถึง 138,002 ล้านบาท
https://www.posttoday.com/economy/568982
ดูแล้วต่างจากรถไฟความเร็วสูงที่ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าการลงทุนที่ไม่ชัดเจน
ดร.สามารถ ถาม "ซีพีใจถึงกล้าเสี่ยงลงทุน" ???
https://talk.mthai.com/inbox/470591.html
เปิดผลการศึกษารถไฟไทย-จีน'เจ๊ง'ลูกเดียว!
https://youtu.be/tsYJTdHhEhk
http://www.anticorruption.in.th/2016/th/detail/407/4/เปิดผลการศึกษารถไฟไทย-จีน'เจ๊ง'ลูกเดียว!-
'ญี่ปุ่น' ย้ำไทย ไม่ร่วมโครงการรถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ วงเงิน 5.26 แสนล้าน
https://voicetv.co.th/read/WNdHqz5Ht
ดูไปแล้ว โครงการรถไฟทางคู่ที่มีการศึกษาแล้วว่ามีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่ชัดเจนกว่ารถไฟความเร็วสูง เป็นโครงการที่ควรจะเร่งสร้างให้เสร็จโดยเร็ว แต่ดูเหตุการณ์ที่ผ่านมาเหมือนกับว่า จะเร่งสร้างรถไฟความเร็วสูงมากกว่า การก่อสร้างรถไฟทางคู่ค่อนข้างล่าช้า ทั้งที่ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าของรถไฟความเร็วสูงยังไม่ชัดเจนนัก ก็น่าจะให้ความสำคัญกับการสร้างรถไฟทางคู่มาเป็นอันดับ 1 ให้สร้างทางคู่ครอบคลุมทั่วประเทศให้เสร็จโดยเร็ว แล้วไฮเปอร์ลูปกับรถไฟความเร็วสูงถึงให้ความสำคัญรองลงมาหรือสร้างให้เสร็จช้ากว่ารถไฟทางคู่ก็ได้