ทำไมสถานีรถไฟฟ้าบ้านเรา ทำชานชาลาแบบDouble Corridor กับ Single Corridor มันต่างกันยังไงทำไมไม่ทำแบบเดียวกัน?

*ภาพประกอบอธิบาย ชานชาลา*(ในรูปสะกดผิดขออภัย) แบบA คือSingle Corridor  และB คือ Double Corridor

ชานชาลาแบบA(ส่วนใหญ่เป็นสถานีสีเขียว จัตุจักร-สนามเป้า-อารี)  ทำรางเดียว แบ่งเป็นขุดขึ้นรถ2ฝั่ง ประหยัดโครงสร้าง
รางเพราะไม่ต้องทำรางแยก ตัวสถานีขนาดเล็กไม่เกะกะ(พื้นที่ปกคลุม)
แต่ผู้โดยสารขึ้นผิดฝั่ง ด้องเดินลงบันไดเพื่อเปลี่ยนไปขึ้นอีกฝั่ง

ชานชาชาแบบB(สถานีสีม่วง) สถานีเหมือนจะดูเล็ก แต่เสียพื้นที่ด้านข้างให้กับรางมาก เพราะต้องแยกรางเป็น2ข้างไหนจะโครงสร้าง
ที่ต้องแยกราง เป็น2 ราง(เพิ่มเสา-คานรับอีก) ทำไห้สถานีB มีพื้นที่ปกคุลมดินมาก ขับรถใต้สถานีทีไม่ต้องเห็นฟ้าเห็นแสงกันเลยทีเดียว
แต่ชานชลามันก็ดี ตรงผู้โดยสารมารถเปลี่ยนขบวนได้ง่าย
ยืมภาพจากกระทู้ https://ppantip.com/topic/36997674

-จากภาพจะห็นว่า ต้องทำคานขนาดใหญ่เพื่อรับราง 2 ราง และเพื่อแยกรถที่เข้าชานชาลา ในระยะที่ไกลมาก ทั้งๆถ้าทำรางเดียวก็ใช้แนวแค่ต้นเดียว
ไปแยกแค่ชานชาชาเอา
-ทำไมจึงต้องทำอะไรที่เสียโครงสร้างเพื่อรับรางทั้ง2 เส้นขนาดนั้น ทำสถานีแบบA ไม่ประหยัดกว่าหรอ เพราะกระชับมากกว่ากัน ลดความหใญ่โต
ของสถานี ไม่บดบังเมือง และ แสงที่ส่องลงถนน(ด้านสถาพแวดล้อม) เพราะสถานีรุ่นใหม่ๆมาแนวBหมดเลย สถานีใหญ่โตมาก
เสารับโครงส้รางก็ใหญ่ตาม  กลายเป็นว่ามีก้อนโครงสร้างขนาดใหญ่บนถนนของเมือง บังทัศนวิศัยของเมือง บังทางลม บังแสงแดด บังมุมมอง

-แต่ทำไมสถานีสีม่วง บนชานชลาจึงต้องเจาะรูตรงกลางด้วย ทำไมไม่ทำพื้นให้เต็มๆ มีที่ยืนมากๆ เพราะสถานีแคบ(เสียให้กับรูตรงกลางและบันได)
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่