สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
หลักเบื้องต้นของการเลือกชนิดของชานชาลา ..
แบบแยกฝั่ง .. สำหรับสายในเมือง ปริมาณผู้โดยสารทั้ง 2 ฝั่ง พอๆ กัน ไม่แตกต่างมาก ในแต่ละช่วงเวลา
แบบเกาะกลาง .. สำหรับสายชานเมือง ปริมาณผู้โดยสารขาเข้า-ขาออก แตกต่างกันมาก ในเวลาเช้า-เย็น
ส่วนเรื่องการทำเป็นอาคาร ไม่ทราบครับ .. คงขึ้นอยู่กับ แนวคิดเชิงพาณิชย์ของโครงการ
http://www.railsystem.net/railway-platform-and-types/
แบบแยกฝั่ง .. สำหรับสายในเมือง ปริมาณผู้โดยสารทั้ง 2 ฝั่ง พอๆ กัน ไม่แตกต่างมาก ในแต่ละช่วงเวลา
แบบเกาะกลาง .. สำหรับสายชานเมือง ปริมาณผู้โดยสารขาเข้า-ขาออก แตกต่างกันมาก ในเวลาเช้า-เย็น
ส่วนเรื่องการทำเป็นอาคาร ไม่ทราบครับ .. คงขึ้นอยู่กับ แนวคิดเชิงพาณิชย์ของโครงการ
http://www.railsystem.net/railway-platform-and-types/
SilentWing ถูกใจ, พ่อขวัญเอย ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 2990854 ถูกใจ, Ultramao ถูกใจ, palovema ถูกใจ, Staples ถูกใจ, ปัดพันชั่ง ถูกใจ, แมว ๙ ชีวิตครึ่ง ถูกใจ, HahaH ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 1091178 ถูกใจรวมถึงอีก 19 คน ร่วมแสดงความรู้สึก
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
รถไฟฟ้า MRT
ระบบขนส่งมวลชน
การออกแบบทางวิศวกรรม (Engineering Design)
ทำไมสถานีรถไฟฟ้าสายสีม่วงถึงเลือกออกแบบเป็นชานชะลาแบบเกาะกลางทุกสถานีเลยครับ
เพราะดูแล้วการออกแบบแบบนี้มันทำให้ดูยุ่งยากตอนสร้างโครงสร้างรางที่ต้องมาทำแยกรางตอนเข้าสถานีทุกสถานี ต่างจากแบบที่รางอยู่ตรงกลางตลอดที่ดูสร้างง่ายกว่า
* อีกอย่างทำไมทางขึ้นลงต้องทำเป็นอาคารด้วย ทำไม่ไม่ทำเป็นทางขึ้นลงแบบสะพานลอยเหมือนโครงการอื่นๆ