มีโอกาสได้ไปอุบลราชธานี 4 ครั้ง เก็บโน่นนิดนี่หน่อย รวมรวมลงบันทึกในกระทู้นี้
*อำเภอพิบูลมังสาหาร*
วัดสระแก้ว
เป็นวัดป่าอรัญวาสี ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2406 โดย ท่านพนฺธุโล (ดี) ผู้วางรากฐานธรรมยุตนิกายในอืสาน
พระท่านเมตตาเปิดอุโบสถให้
พระพือ รูปสลักของเทวสตรี ประทับนั่ง หัตถ์ขวาทรงจักร หัตถ์ซ้ายทรงดอกบัว บนหินทรายสีแดง
พบที่ร่องน้ำลึกกลางแก่งสะพือ ช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน ก่อนมีการสร้างเขื่อนปากมูล
ในช่วงเทศกาลวันสงกรานต์ จะนำออกมาให้สรงน้ำสักการะ
จารึกวัดสระแก้ว และเทวรูป
ธรรมจักร และ เสมา วัฒนธรรมทวาราวดี
ทางทิศเหนือของวัดมีสระแก้ว คือบาราบของปราสาทขอม
ที่วัดนี้พบทับหลังสองชิ้น เป็น ทับหลังที่เก่าแก่ ในช่วงตั้งอาณาจักรขอม ประมาณ พ.ศ.1150
ชิ้นหนึ่งเป็น ศิลปะถาราบริวัต ปัจจุบันอยู่ที่วัดสุปัฎนาราม เมืองอุบล
สาระสำคัญของหน้าบันแบบถาลาบริวัตินี้คือ
ด้านข้างของภาพมี มกรที่มีคนขี่
มกรคายสายรุ้งมาบรรจบกันตรงกลาง ซึ่งเป็นภาพประธานในรูปไข่
ใต้สายรุ้งมีเฟื่อง(โค้งๆ) และอุบะ
ด้านบนสายรุ้งมีใบไม้
และอีกชิ้นในอุโบสถนี้ เป็นศิลปะแบบไพรกเมง ... ตามชื่อปราสาทไพรเกม็งราว พ.ศ.1185-1250
สาระสำคัญของหน้าบันแบบแบบไพรกเมงนี้คือ
หน้าบันแบ่งเป็นสองส่วน
ส่วนบนของหน้าบัน เป็นลายกนกผักกาด
ส่วนล่างของหน้าบัน
ด้านข้างของภาพไม่มีมกร เป็นลายก้านต่อดอก ของกนกผักกาด
มีฐานรับหัวเสาข้างใต้ ภาพก้านต่อดอกด้านข้าง
สายรุ้งหรือท่อนมาลัยเป็นเส้นตรง
ใต้สายรุ้งมีเฟื่อง(โค้งๆ) และอุบะ
ด้านบนสายรุ้งมีใบไม้
แก่งสะพือช่วงน้ำมาก ไม่เห็นแกาะแก่ง
ร้านซาลาเปาดั้งเดิมของเมืองพิบูล
*อำเภอสิริสธร*
วัดสิรินธรวรารามภูพร้าว
ภูเขาลูกเคยมีหินคล้ายลูกมะพร้าวเต็มไปหมด เมื่อทุบออกมาจะมีฝุ่นหรือเม็ดหินใสๆ
ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นหินศักดิ์สิทธิ์ เอาไปรักษาโรค เรียกมะพร้าวฤาษีทำเอาไว้
ต่อมามีคนเก็บเอาไปขายจนหมด
พระอาจารย์บุญมาก ฐิติปัญโญ จากจำปาสัก ได้มาปักกรดที่นี่
เมื่อมีการสร้างเขื่อนสิรินธร ท่านจึงได้ขอบิณฑบาตจากหน่วยทหารและอำเภอพิบูลมังสาหารสร้างเป็นวัดขึ้น
เมื่อเกิดความไม่สงบในลาวท่านก็ได้กลับไปยังจำปาสักและมรณะภาพในปี 2524 วัดนี้จึงร้าง
ปี 2535 อำเภอสิรินธรแยกตัวออกมาจากอำเภอพิบูลมังสาหาร จึงเปลี่ยนชื่อเป็นวัดสิรินธร
พ.ศ. 2542 พระครูกมลภาวนากร ลูกศิษย์พระอาจารย์บุญมาก ได้นำศิษยานุศิษย์บูรณะปฏิสังขรวัดสิรินธรวรารามขึ้นดังเดิม
ไม้ที่สลักบนปลายสันหลังคา
เป็นรูปมกรในทับหลังที่วัดสุปัฎนาราม ... มกรเบือน
มกร คือช้างที่มีหางเป็นปลา มีงวง มีงาซึ่งพัฒนาไปเป็นเขี้ยว ว่ายน้ำได้ กินกล้วยเป็นอาหาร
หรือ
เป็นรูปอนันตนาคราชในทับหลังวิษณุอนันตศายินปัทมนาภะ หรือ นารายณ์บรรทมสิมธุ์ ... นาคเบือน
เป็นสัญญลักษณ์ของ น้ำ ความอุดมสมบูรณ์
พ.ศ. 2549 พระครูกมลภาวนากร ได้มรณภาพลง
ด้านตะวันตกของวัดเป็นทะเลสาบเหนือเขื่อนสิรินธร
ทางตะวันออกของวัดมีภูเขามียอดเหมือนเจดีย์ ... ซ้ายสุดไกล ๆ เหนือยอดไม้
ชื่อภูมะโรง หรืองูใหญ่ หรือหมายถึงพญานาค
ทางทิศใต้เป็นด่านช่องเม็ก
รอค่ำ
*อำเภอโขงเจียม*
ตึกขาว ร.ศ.112 เป็นอาคารพาณิชย์แห่งแรกในโขงเจียม
สถาปัตยกรรมแบบฝรั่งเศส สไตล์โคโลเนียล (Colonial Style) ในยุคล่าอาณานิคม
สร้างโดยนายต้น กอมณี เพื่อรองรับกิจการค้าขายที่กำลังขยายตัว
เป็นอาคาร 2 ชั้น 3 คูหา ก่ออิฐถือปูน ใช้ผนังตึกรับน้ำหนัก
ฉาบด้วยปูนขาวที่ทำจากเปลือกหอยเผาไฟบดละเอียดผสมกับยางบง จึงมีสีขาวนวลทั้งหลัง
แม่น้ำสองสี
ปลายเดือนพฤศจิกายน 2560
ปลายเดือนตุลาคม 2562
ผาแต้ม
น้ำตกแสงจันทร์
ต้นน้ำเป็นธารเล็ก ๆ ไหลลงสู่รู
เบื้องล่างปลายเป็นน้ำตกโปรยละออง สาดส่องคล้ายแสงจันทร์
*อำเภอโพธิ์ไทร*
ตั้งชื่อตามต้นโพธิ์และต้นไทรศักดิ์สิทธ์ ที่วัดศรีบุญเรือง
สามพันโบก โชคดีตอนที่ไปลมหนาวแรงมากจึงไม่ร้อน
*เขมราฐ*
ความงามเมืองอุบล
วัดสระแก้ว
เป็นวัดป่าอรัญวาสี ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2406 โดย ท่านพนฺธุโล (ดี) ผู้วางรากฐานธรรมยุตนิกายในอืสาน
พระท่านเมตตาเปิดอุโบสถให้
พระพือ รูปสลักของเทวสตรี ประทับนั่ง หัตถ์ขวาทรงจักร หัตถ์ซ้ายทรงดอกบัว บนหินทรายสีแดง
พบที่ร่องน้ำลึกกลางแก่งสะพือ ช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน ก่อนมีการสร้างเขื่อนปากมูล
ในช่วงเทศกาลวันสงกรานต์ จะนำออกมาให้สรงน้ำสักการะ
จารึกวัดสระแก้ว และเทวรูป
ธรรมจักร และ เสมา วัฒนธรรมทวาราวดี
ทางทิศเหนือของวัดมีสระแก้ว คือบาราบของปราสาทขอม
ที่วัดนี้พบทับหลังสองชิ้น เป็น ทับหลังที่เก่าแก่ ในช่วงตั้งอาณาจักรขอม ประมาณ พ.ศ.1150
ชิ้นหนึ่งเป็น ศิลปะถาราบริวัต ปัจจุบันอยู่ที่วัดสุปัฎนาราม เมืองอุบล
สาระสำคัญของหน้าบันแบบถาลาบริวัตินี้คือ
ด้านข้างของภาพมี มกรที่มีคนขี่
มกรคายสายรุ้งมาบรรจบกันตรงกลาง ซึ่งเป็นภาพประธานในรูปไข่
ใต้สายรุ้งมีเฟื่อง(โค้งๆ) และอุบะ
ด้านบนสายรุ้งมีใบไม้
และอีกชิ้นในอุโบสถนี้ เป็นศิลปะแบบไพรกเมง ... ตามชื่อปราสาทไพรเกม็งราว พ.ศ.1185-1250
สาระสำคัญของหน้าบันแบบแบบไพรกเมงนี้คือ
หน้าบันแบ่งเป็นสองส่วน
ส่วนบนของหน้าบัน เป็นลายกนกผักกาด
ส่วนล่างของหน้าบัน
ด้านข้างของภาพไม่มีมกร เป็นลายก้านต่อดอก ของกนกผักกาด
มีฐานรับหัวเสาข้างใต้ ภาพก้านต่อดอกด้านข้าง
สายรุ้งหรือท่อนมาลัยเป็นเส้นตรง
ใต้สายรุ้งมีเฟื่อง(โค้งๆ) และอุบะ
ด้านบนสายรุ้งมีใบไม้
แก่งสะพือช่วงน้ำมาก ไม่เห็นแกาะแก่ง
ร้านซาลาเปาดั้งเดิมของเมืองพิบูล
วัดสิรินธรวรารามภูพร้าว
ภูเขาลูกเคยมีหินคล้ายลูกมะพร้าวเต็มไปหมด เมื่อทุบออกมาจะมีฝุ่นหรือเม็ดหินใสๆ
ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นหินศักดิ์สิทธิ์ เอาไปรักษาโรค เรียกมะพร้าวฤาษีทำเอาไว้
ต่อมามีคนเก็บเอาไปขายจนหมด
พระอาจารย์บุญมาก ฐิติปัญโญ จากจำปาสัก ได้มาปักกรดที่นี่
เมื่อมีการสร้างเขื่อนสิรินธร ท่านจึงได้ขอบิณฑบาตจากหน่วยทหารและอำเภอพิบูลมังสาหารสร้างเป็นวัดขึ้น
เมื่อเกิดความไม่สงบในลาวท่านก็ได้กลับไปยังจำปาสักและมรณะภาพในปี 2524 วัดนี้จึงร้าง
ปี 2535 อำเภอสิรินธรแยกตัวออกมาจากอำเภอพิบูลมังสาหาร จึงเปลี่ยนชื่อเป็นวัดสิรินธร
พ.ศ. 2542 พระครูกมลภาวนากร ลูกศิษย์พระอาจารย์บุญมาก ได้นำศิษยานุศิษย์บูรณะปฏิสังขรวัดสิรินธรวรารามขึ้นดังเดิม
ไม้ที่สลักบนปลายสันหลังคา
เป็นรูปมกรในทับหลังที่วัดสุปัฎนาราม ... มกรเบือน
มกร คือช้างที่มีหางเป็นปลา มีงวง มีงาซึ่งพัฒนาไปเป็นเขี้ยว ว่ายน้ำได้ กินกล้วยเป็นอาหาร
หรือ
เป็นรูปอนันตนาคราชในทับหลังวิษณุอนันตศายินปัทมนาภะ หรือ นารายณ์บรรทมสิมธุ์ ... นาคเบือน
เป็นสัญญลักษณ์ของ น้ำ ความอุดมสมบูรณ์
พ.ศ. 2549 พระครูกมลภาวนากร ได้มรณภาพลง
ด้านตะวันตกของวัดเป็นทะเลสาบเหนือเขื่อนสิรินธร
ทางตะวันออกของวัดมีภูเขามียอดเหมือนเจดีย์ ... ซ้ายสุดไกล ๆ เหนือยอดไม้
ชื่อภูมะโรง หรืองูใหญ่ หรือหมายถึงพญานาค
ทางทิศใต้เป็นด่านช่องเม็ก
รอค่ำ
ตึกขาว ร.ศ.112 เป็นอาคารพาณิชย์แห่งแรกในโขงเจียม
สถาปัตยกรรมแบบฝรั่งเศส สไตล์โคโลเนียล (Colonial Style) ในยุคล่าอาณานิคม
สร้างโดยนายต้น กอมณี เพื่อรองรับกิจการค้าขายที่กำลังขยายตัว
เป็นอาคาร 2 ชั้น 3 คูหา ก่ออิฐถือปูน ใช้ผนังตึกรับน้ำหนัก
ฉาบด้วยปูนขาวที่ทำจากเปลือกหอยเผาไฟบดละเอียดผสมกับยางบง จึงมีสีขาวนวลทั้งหลัง
แม่น้ำสองสี
ปลายเดือนพฤศจิกายน 2560
ปลายเดือนตุลาคม 2562
ผาแต้ม
น้ำตกแสงจันทร์
ต้นน้ำเป็นธารเล็ก ๆ ไหลลงสู่รู
เบื้องล่างปลายเป็นน้ำตกโปรยละออง สาดส่องคล้ายแสงจันทร์
ตั้งชื่อตามต้นโพธิ์และต้นไทรศักดิ์สิทธ์ ที่วัดศรีบุญเรือง
สามพันโบก โชคดีตอนที่ไปลมหนาวแรงมากจึงไม่ร้อน