จาากข่าวที่สรรพากร กับ กรมศุลกากร จะนำ Big data เข้ามาช่วยในการจัดเก็บภาษี จึงเกิดความสงสัยและได้ไปหาข้อมูลมาว่า
Big Data มันหมายถึงว่าการเก็บข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่งข้อมูล ที่อยู่บนออนไลน์แล้วมาประมวลผลเป็นข้อมูล ยกตัวอย่างเช่นกรณีของ นายเอ เป็นวิทยากรบรรยายงานต่างๆ สมมตินายเอ ทำธุรกรรมหลาย ๆ ที่ แล้วนายเอ ไปพูดบนเว็บว่านายเอ ไปฝึกอบรม ไปเป็นวิทยากรที่โน่นที่นี่ ในอดีตนั้นสรรพากรจะไม่รู้เลยว่านายเอ มีรายได้จากตรงโน้นตรงนี้หรือเปล่าถ้านายเอ ไม่ได้มีเรื่องของการจ่ายภาษีหรือการรับภาษีเข้ามาเกี่ยวข้องใช่มั้ย แต่พอเป็นBig Data สรรพากรบอกถ้า “นายเอ ”ไปบรรยายที่โน่นน่าจะมีรายได้จากตรงนั้น ตอนนายเอ ส่งรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปีปรากฎว่าไม่มีรายการที่นายเอ ไปบรรยายแปลว่ามันมีความผิดปกติเกิดขึ้นจริงมั้ย
ความสามารถของการเอา Big Data คือเป็นการประมวลผลจากข้อมูลจากทุก ๆ แหล่งข้อมูลซึ่งไม่ได้เป็นการเรียงข้อมูลในรูปแบบที่เป็น Database สมมติว่าแค่บอกว่า “นายเอกพงษ์ มีสุข” หรือเป็นชื่อเล่น “เอก มีสุข” อย่างนี้ปุ๊บมันจะไปหาข้อมูลนี้เลยแล้วดูว่า เคยไปทำอะไรมาบ้างที่อาจทำให้เกิดรายได้ แล้วประมวลผลออกมาว่าจริง ๆ แล้วมันใช่มั้ยที่จะมีรายได้แบบนี้อันนี้คือการใช้ประโยชน์จาก Big Data
จากเดิมตัวฐานข้อมูลของสรรพากร จริงๆมีมานานแล้ว แต่เป็น Database ไม่ใช่ Big Data เช่น คีย์เลขประจำตัว 13 หลัก เข้าไปรู้หมดเลยครับ รู้หมดเลยว่าเคยไปจ่ายอะไรบ้าง จับจ่ายโดยที่ต้องบันทึกเป็นภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งปกติภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไรที่เราจ่ายผ่านบัตรเครดิตออกบิล แต่ถ้าไม่มีก็จะไม่เห็น ฝั่งรายได้ฝั่งรายจ่ายจะเห็นหมด
ละมีข่าวเพิ่มมาอีกว่าจะมีการนำ AI มาใช้ร่วมกัน Big data การใช้ AI หรือปัญญาประดิษฐ์ในการตรวจสอบ แม้จะมีคนเป็นล้าน ๆ คน แต่ระบบจะอ่านข้อมูลแค่แป๊บเดียวก็จะรู้เลยว่าคนคนนี้มีแพตเทิร์นการชำระเงินเป็นแบบไหน โดยเอา data ทั้งหมดมาเรียนรู้ว่าคนคนหนึ่งมีพฤติกรรมอย่างไร เมื่อคนอื่น ๆ มีแพตเทิร์นแบบเดียวกันก็น่าจะมีแนวโน้มที่จะมีลักษณะเดียวกัน
อยากทราบว่าคนอื่นๆ มีความคิดเห็นอย่างไรกับเรื่องนี้ ?? ค่ะ
ถ้าข้อมูลผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยมาไว้ที่ ด้วย ค่ะ
Big data กับ การจัดเก็บภาษีไทย
Big Data มันหมายถึงว่าการเก็บข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่งข้อมูล ที่อยู่บนออนไลน์แล้วมาประมวลผลเป็นข้อมูล ยกตัวอย่างเช่นกรณีของ นายเอ เป็นวิทยากรบรรยายงานต่างๆ สมมตินายเอ ทำธุรกรรมหลาย ๆ ที่ แล้วนายเอ ไปพูดบนเว็บว่านายเอ ไปฝึกอบรม ไปเป็นวิทยากรที่โน่นที่นี่ ในอดีตนั้นสรรพากรจะไม่รู้เลยว่านายเอ มีรายได้จากตรงโน้นตรงนี้หรือเปล่าถ้านายเอ ไม่ได้มีเรื่องของการจ่ายภาษีหรือการรับภาษีเข้ามาเกี่ยวข้องใช่มั้ย แต่พอเป็นBig Data สรรพากรบอกถ้า “นายเอ ”ไปบรรยายที่โน่นน่าจะมีรายได้จากตรงนั้น ตอนนายเอ ส่งรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปีปรากฎว่าไม่มีรายการที่นายเอ ไปบรรยายแปลว่ามันมีความผิดปกติเกิดขึ้นจริงมั้ย
ความสามารถของการเอา Big Data คือเป็นการประมวลผลจากข้อมูลจากทุก ๆ แหล่งข้อมูลซึ่งไม่ได้เป็นการเรียงข้อมูลในรูปแบบที่เป็น Database สมมติว่าแค่บอกว่า “นายเอกพงษ์ มีสุข” หรือเป็นชื่อเล่น “เอก มีสุข” อย่างนี้ปุ๊บมันจะไปหาข้อมูลนี้เลยแล้วดูว่า เคยไปทำอะไรมาบ้างที่อาจทำให้เกิดรายได้ แล้วประมวลผลออกมาว่าจริง ๆ แล้วมันใช่มั้ยที่จะมีรายได้แบบนี้อันนี้คือการใช้ประโยชน์จาก Big Data
จากเดิมตัวฐานข้อมูลของสรรพากร จริงๆมีมานานแล้ว แต่เป็น Database ไม่ใช่ Big Data เช่น คีย์เลขประจำตัว 13 หลัก เข้าไปรู้หมดเลยครับ รู้หมดเลยว่าเคยไปจ่ายอะไรบ้าง จับจ่ายโดยที่ต้องบันทึกเป็นภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งปกติภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไรที่เราจ่ายผ่านบัตรเครดิตออกบิล แต่ถ้าไม่มีก็จะไม่เห็น ฝั่งรายได้ฝั่งรายจ่ายจะเห็นหมด
ละมีข่าวเพิ่มมาอีกว่าจะมีการนำ AI มาใช้ร่วมกัน Big data การใช้ AI หรือปัญญาประดิษฐ์ในการตรวจสอบ แม้จะมีคนเป็นล้าน ๆ คน แต่ระบบจะอ่านข้อมูลแค่แป๊บเดียวก็จะรู้เลยว่าคนคนนี้มีแพตเทิร์นการชำระเงินเป็นแบบไหน โดยเอา data ทั้งหมดมาเรียนรู้ว่าคนคนหนึ่งมีพฤติกรรมอย่างไร เมื่อคนอื่น ๆ มีแพตเทิร์นแบบเดียวกันก็น่าจะมีแนวโน้มที่จะมีลักษณะเดียวกัน
อยากทราบว่าคนอื่นๆ มีความคิดเห็นอย่างไรกับเรื่องนี้ ?? ค่ะ
ถ้าข้อมูลผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยมาไว้ที่ ด้วย ค่ะ