สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 23
มีผลมากครับ
สังคมไทย ยังเป็นระบบ รักพวกพ้องกันมาก
คำสอน 3 อย่างแรกที่ครอบครัวไทยสอนเด็กคือ
1.กตัญญู
2.เชื่อฟังผู้ใหญ่
3.รู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี
สรุปคือเด็กไทยเชื่อฟังกลุ่มรักกลุ่ม
คำสอน 3 ข้อแรกของเด็กญี่ปุ่น
1. จงมีวินัย (รักษาคิว เคารพกติกา)
2. ทำงานให้หนัก (ไม่เอาเปรียบคนอื่น)
3. จงช่วยเหลือคนแปลกหน้า
สรุปคือเด็กญี่ปุ่น ยึดความเท่าเทียม เคารพสิทธิผู้อื่น
เด็กแว๊นซ์ + ตีโรงเรียนอื่น คือ กตัญูญํต่อรุ่นพี่ รักพวกพ้อง เชื่อฟังกลุ่ม , โรงเรียนอื่นคือ พวกแปลกหน้า ไม่ใ่ช่พวกเรา
.....................................
ไปงานเลี้ยงรุ่น
มีแต่คนถามฝากลูกเข้าโรงเรียน
นี่คือรักพวกพ้อง + กตัญญู (แต่ละเมิดเด็กคนอื่นลูกคนอื่น)
......................................
เด็กไทย ขึ้นรถเก๋งไปโรงเรียน
จอดขวางไปหนึ่งเลน ทุกเช้าหน้าโรงเรียนดัง (มารถเก๋งคือเชื่อฟังพ่อแม่ เอาเปรียบคนอื่นไม่เป็นไร ให้รถติดไปหนึ่งเลน, ตัวเด็กเองนะอยากขึ้นรถเมล์)
.................
การแซงคิว การกั๊กคิว
การกั้นที่ให้พวกพ้อง
คือการคอรับชั่น
รากฐานของคอรับชั่น มาจากระบบอัปถัมภ์
ทำให้รักพวกพ้อง กั๊กคิวไว้ให้พวกพ้อง
รักพวกพ้องไม่ใช่ไม่ดี
แต่รักถึงขนาดปิดหูปิดตา
ไปละเมิดสิทธิผู้อื่น มันก็กลายเป็นคอรัปชั่น
↑↑↑
คคห#4 ถูกต้องที่สุด
รากฐานมาตั้งแต่คำสอนที่เราสอนเด็กๆ
ในครอบครัวไทย
เราควรสอนให้เด็กเคารพวินัย ทำงานให้หนัก
เคารพสิทธิของผู้อื่น
แทนที่จะสอนให้กตัญญู รักพวกพ้อง เชื่อฟังผู้ใหญ่
เพราะมันคือรากเหง้าของระบบอุปถัมภ์
.
.
สังคมไทย ยังเป็นระบบ รักพวกพ้องกันมาก
คำสอน 3 อย่างแรกที่ครอบครัวไทยสอนเด็กคือ
1.กตัญญู
2.เชื่อฟังผู้ใหญ่
3.รู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี
สรุปคือเด็กไทยเชื่อฟังกลุ่มรักกลุ่ม
คำสอน 3 ข้อแรกของเด็กญี่ปุ่น
1. จงมีวินัย (รักษาคิว เคารพกติกา)
2. ทำงานให้หนัก (ไม่เอาเปรียบคนอื่น)
3. จงช่วยเหลือคนแปลกหน้า
สรุปคือเด็กญี่ปุ่น ยึดความเท่าเทียม เคารพสิทธิผู้อื่น
เด็กแว๊นซ์ + ตีโรงเรียนอื่น คือ กตัญูญํต่อรุ่นพี่ รักพวกพ้อง เชื่อฟังกลุ่ม , โรงเรียนอื่นคือ พวกแปลกหน้า ไม่ใ่ช่พวกเรา
.....................................
ไปงานเลี้ยงรุ่น
มีแต่คนถามฝากลูกเข้าโรงเรียน
นี่คือรักพวกพ้อง + กตัญญู (แต่ละเมิดเด็กคนอื่นลูกคนอื่น)
......................................
เด็กไทย ขึ้นรถเก๋งไปโรงเรียน
จอดขวางไปหนึ่งเลน ทุกเช้าหน้าโรงเรียนดัง (มารถเก๋งคือเชื่อฟังพ่อแม่ เอาเปรียบคนอื่นไม่เป็นไร ให้รถติดไปหนึ่งเลน, ตัวเด็กเองนะอยากขึ้นรถเมล์)
.................
การแซงคิว การกั๊กคิว
การกั้นที่ให้พวกพ้อง
คือการคอรับชั่น
รากฐานของคอรับชั่น มาจากระบบอัปถัมภ์
ทำให้รักพวกพ้อง กั๊กคิวไว้ให้พวกพ้อง
รักพวกพ้องไม่ใช่ไม่ดี
แต่รักถึงขนาดปิดหูปิดตา
ไปละเมิดสิทธิผู้อื่น มันก็กลายเป็นคอรัปชั่น
↑↑↑
คคห#4 ถูกต้องที่สุด
รากฐานมาตั้งแต่คำสอนที่เราสอนเด็กๆ
ในครอบครัวไทย
เราควรสอนให้เด็กเคารพวินัย ทำงานให้หนัก
เคารพสิทธิของผู้อื่น
แทนที่จะสอนให้กตัญญู รักพวกพ้อง เชื่อฟังผู้ใหญ่
เพราะมันคือรากเหง้าของระบบอุปถัมภ์
.
.
ความคิดเห็นที่ 34
วนมาตอบอีกรอบนึง.. ผมอ่านๆดู..เห็นแต่ว่า..เพื่อนๆสมาชิกพูดกันว่า "บุญเก่ารุ่นพี่ คอนเน็คชั่น"
พวกเราลืมมองภาพใหญ่อีกภาพหนึ่งที่เเป็นหัวข้อสำคัญที่สุดในการทำงาน เราลืมกันไปว่า.. มอ ดัง "ได้เด็กเก่งและเด็กคุณภาพ" ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นมากๆและมีเพียงพอต่อการทำงานบริษัทเป็นส่วนใหญ่ แน่นอน มอ อื่นๆ ก็มี บัญทิตคุณภาพและเก่งทฤษฎี แต่อาจจะน้อยกว่า มอดังๆ เพราะ... ตัววัถตุดิบ(ผู้เรียน)ที่เข้ามาสู่กระบวนการผลิตบัณฑิต(เรียน)ของ มอ ดังๆ นั้น.....
1. ความตั้งใจศึกษา
2. ความขยัน+หมั่นเพียร
3. การรู้หน้าที่ และ รับผิดชอบต่อตัวเอง (นี่สิสำคัญที่สุด)
4. มีเป้าหมายชีวิต มีความตั้งใจที่จะผลักดันตัวเองและครอบครัวให้อยู่ดีกินดีขึ้น (คณะดังๆ จะมีน้องๆ ประเภทนี้เยอะ)
5. จาก1ถึง4 เกิดอะไรขึ้น ความรู้แน่น..หรือเรียกกว่า เก่ง "ทฤษฏี" ไง..
มันฟ้องอะไร คนที่จะเรียนมอดัง ต้องรู้ว่า วันนี้จะเล่นเกมส์กี่ชั่วโมง(อันนี้ปฏิเสธไม่ได่) จะทำการบ้านให้เสร็จเมื่อไหร่? แบ่งเวลาเท่าไหร่ในการอ่านหนังสือเท่าไหร่? พวกเราที่ผ่านการ entrance หรือ admission ย่อมรู้กันอยู่แล้วว่า คะแนนในการเข้ามอดังๆ นั้นสูงมากๆ บางคนอ่านหนังสือมาเป็นปี เรียนพิเศษก็หลายปี และขยันหมั่นเพียรทำเกรด มอ4/5/6 ให้ดี (เรียนพิเศษเพียงอย่างเดียวย่อมไม่พอ ต้องมีการทำเกรดระหว่างเทอมดีๆ ต้องมีการทบทวนมากๆ) และนิสัยแบบนี้มักจะติดตัวผู้เรียนไปจนถึงตอนทำงาน (เป็นส่วนมาก)
แปลว่าชื่อเสียง มอ ดัง ย่อม"ประกัน" ความสามารถของบัณฑิตได้..ไม่มากก็น้อย อย่างน้อยๆ ก็เก่ง"ทฤษฏี" แน่ๆ แม้จะไม่100% แต่ก็ถือว่า มากเปอร์เซนต์อยู่เมื่อเทียบกับ มอ "อื่นๆ"
พวกเราลืมมองภาพใหญ่อีกภาพหนึ่งที่เเป็นหัวข้อสำคัญที่สุดในการทำงาน เราลืมกันไปว่า.. มอ ดัง "ได้เด็กเก่งและเด็กคุณภาพ" ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นมากๆและมีเพียงพอต่อการทำงานบริษัทเป็นส่วนใหญ่ แน่นอน มอ อื่นๆ ก็มี บัญทิตคุณภาพและเก่งทฤษฎี แต่อาจจะน้อยกว่า มอดังๆ เพราะ... ตัววัถตุดิบ(ผู้เรียน)ที่เข้ามาสู่กระบวนการผลิตบัณฑิต(เรียน)ของ มอ ดังๆ นั้น.....
1. ความตั้งใจศึกษา
2. ความขยัน+หมั่นเพียร
3. การรู้หน้าที่ และ รับผิดชอบต่อตัวเอง (นี่สิสำคัญที่สุด)
4. มีเป้าหมายชีวิต มีความตั้งใจที่จะผลักดันตัวเองและครอบครัวให้อยู่ดีกินดีขึ้น (คณะดังๆ จะมีน้องๆ ประเภทนี้เยอะ)
5. จาก1ถึง4 เกิดอะไรขึ้น ความรู้แน่น..หรือเรียกกว่า เก่ง "ทฤษฏี" ไง..
มันฟ้องอะไร คนที่จะเรียนมอดัง ต้องรู้ว่า วันนี้จะเล่นเกมส์กี่ชั่วโมง(อันนี้ปฏิเสธไม่ได่) จะทำการบ้านให้เสร็จเมื่อไหร่? แบ่งเวลาเท่าไหร่ในการอ่านหนังสือเท่าไหร่? พวกเราที่ผ่านการ entrance หรือ admission ย่อมรู้กันอยู่แล้วว่า คะแนนในการเข้ามอดังๆ นั้นสูงมากๆ บางคนอ่านหนังสือมาเป็นปี เรียนพิเศษก็หลายปี และขยันหมั่นเพียรทำเกรด มอ4/5/6 ให้ดี (เรียนพิเศษเพียงอย่างเดียวย่อมไม่พอ ต้องมีการทำเกรดระหว่างเทอมดีๆ ต้องมีการทบทวนมากๆ) และนิสัยแบบนี้มักจะติดตัวผู้เรียนไปจนถึงตอนทำงาน (เป็นส่วนมาก)
แปลว่าชื่อเสียง มอ ดัง ย่อม"ประกัน" ความสามารถของบัณฑิตได้..ไม่มากก็น้อย อย่างน้อยๆ ก็เก่ง"ทฤษฏี" แน่ๆ แม้จะไม่100% แต่ก็ถือว่า มากเปอร์เซนต์อยู่เมื่อเทียบกับ มอ "อื่นๆ"
แสดงความคิดเห็น
ปัจจุบันชื่อเสียงมหาลัยมีผลต่อการทำงานไหม?
-เคยได้ยินมาว่า จบที่ไม่ดังก็ไม่มีคนรับเข้าทำงาน หางายาก ตกงาน
ต้องจบ สีชมพู สีเหลืองแดง คำพูดนี้เสมอไปไหมครับ?
-บางคนทำงานเป็นแต่จบที่ไม่มีเสียงมากนัก มีโอกาสตกงานมากกว่า ที่จบดังๆมาแต่ทำอะไรไม่ค่อยเป็นหรอครับ?
-เคยดูรายการนึงในไทย ตอนเขาคัดคนเขาก็ดูชื่อมหาลัยก่อนแล้วค่อยติดต่อสัมภาษณ์
-เกรดที่จบออกมาไม่สวยหรือ ไม่ได้เกียรตินิยม มีผลอะไรมากไหมครับ