คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
คำว่า วาสนาในภาษาไทย กับ วาสนาในความหมายของบาลี (พระไตรปิฎก) ต่างกัน
ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
วาสนา (วาดสะหฺนา) น. บุญบารมี, กุศลที่ทำให้ได้รับลาภยศ, เช่นเด็กคนนี้มีวาสนาดี เกิดในกองเงินกองทอง, มักใช้เข้าคู่กับคำ บุญ หรือ บารมี เป็น บุญวาสนา หรือวาสนาบารมี เช่นเป็นบุญวาสนาของเขา เขาเป็นคนมีวาสนาบารมีมาก
https://www.dhammahome.com/webboard/topic/7273
คำว่า “วาสนา” หมายถึง ความประพฤติทางกาย วาจาที่สะสมมาจนชิน
“วาสนา” ที่ใช้กันในภาษาไทยหมายถึง ความเป็นใหญ่เป็นโตต่าง ๆ แต่ “วาสนา” ในพระพุทธศาสนาหมายถึงการสั่งสมของอกุศล จนกระทั่งเป็นความประพฤติที่เคยชินเป็นอาการที่ปรากฏทางกาย ทางวาจา ผู้ที่ละ “วาสนา” ได้มีบุคคลเดียวเท่านั้น คือพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระอรหันต์ทั้งหลายดับกิเลสได้หมดสิ้นไม่มีเชื้อของกิเลสใด ๆ เหลืออยู่เลย แต่กระนั้นก็ยังละวาสนาไม่ได้เพราะสะสมเนิ่นนานมาในสังสารวัฏฏ์ด้วยสามารถแห่งชวนวิถี
https://www.gotoknow.org/posts/216020 - มีตัวอย่างเรื่องที่ปรากฏในพระไตรปิฏกเกี่ยวกับวาสนา (นิสัยสันดานที่ฝังลึกอยู่ในจิตจนถอนไม่ขึ้น)
คำว่าวาสนาในภาษาไทยหมายถึงบุญบารมีที่สั่งสมมานาน ทำให้คน ๆ นั้นมีความพรั่งพร้อมสมบูรณ์ทุกด้าน ดังคำกล่าวถึงบุคคลที่มีคุณสมบัติเช่นนี้ว่า “เขามีวาสนา” หรือ “เป็นวาสนาของเขา”
แต่ในความหมายทางธรรม “วาสนา” หมายถึงนิสัยสันดานที่ฝังลึกอยู่ในจิตจนถอนไม่ขึ้น ว่ากันว่าถึงจะบรรลุเป็นพระอรหันต์แล้วก็ยังละ “วาสนา” ไม่ได้ยกเว้นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น
ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
วาสนา (วาดสะหฺนา) น. บุญบารมี, กุศลที่ทำให้ได้รับลาภยศ, เช่นเด็กคนนี้มีวาสนาดี เกิดในกองเงินกองทอง, มักใช้เข้าคู่กับคำ บุญ หรือ บารมี เป็น บุญวาสนา หรือวาสนาบารมี เช่นเป็นบุญวาสนาของเขา เขาเป็นคนมีวาสนาบารมีมาก
https://www.dhammahome.com/webboard/topic/7273
คำว่า “วาสนา” หมายถึง ความประพฤติทางกาย วาจาที่สะสมมาจนชิน
“วาสนา” ที่ใช้กันในภาษาไทยหมายถึง ความเป็นใหญ่เป็นโตต่าง ๆ แต่ “วาสนา” ในพระพุทธศาสนาหมายถึงการสั่งสมของอกุศล จนกระทั่งเป็นความประพฤติที่เคยชินเป็นอาการที่ปรากฏทางกาย ทางวาจา ผู้ที่ละ “วาสนา” ได้มีบุคคลเดียวเท่านั้น คือพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระอรหันต์ทั้งหลายดับกิเลสได้หมดสิ้นไม่มีเชื้อของกิเลสใด ๆ เหลืออยู่เลย แต่กระนั้นก็ยังละวาสนาไม่ได้เพราะสะสมเนิ่นนานมาในสังสารวัฏฏ์ด้วยสามารถแห่งชวนวิถี
https://www.gotoknow.org/posts/216020 - มีตัวอย่างเรื่องที่ปรากฏในพระไตรปิฏกเกี่ยวกับวาสนา (นิสัยสันดานที่ฝังลึกอยู่ในจิตจนถอนไม่ขึ้น)
คำว่าวาสนาในภาษาไทยหมายถึงบุญบารมีที่สั่งสมมานาน ทำให้คน ๆ นั้นมีความพรั่งพร้อมสมบูรณ์ทุกด้าน ดังคำกล่าวถึงบุคคลที่มีคุณสมบัติเช่นนี้ว่า “เขามีวาสนา” หรือ “เป็นวาสนาของเขา”
แต่ในความหมายทางธรรม “วาสนา” หมายถึงนิสัยสันดานที่ฝังลึกอยู่ในจิตจนถอนไม่ขึ้น ว่ากันว่าถึงจะบรรลุเป็นพระอรหันต์แล้วก็ยังละ “วาสนา” ไม่ได้ยกเว้นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น
แสดงความคิดเห็น
ในทางพระพุทธศาสนา คำว่า “วาสนาดี” หมายความว่าอย่างไรคะ
ยกตัวอย่างเหตุการณ์ก็ได้ค่ะ
ขอบคุณมากค่ะ