คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 6
สัทธา ความเชื่อ;
ในทางธรรม หมายถึง เชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ, ความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล, ความมั่นใจในความจริงความดีสิ่งดีงามและในการทำความดีไม่ลู่ไหลตื่นตูมไปตามลักษณะอาการภายนอก
ท่านแสดงสืบๆ กันมาว่า ๔ อย่างคือ
๑. กัมมสัทธา เชื่อกรรม
๒. วิปากสัทธา เชื่อผลของกรรม
๓. กัมมัสสกตาสัทธา เชื่อว่าสัตว์มีกรรมเป็นของตัว ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
๔. ตถาคตโพธิสัทธา เชื่อปัญญาตรัสรู้ของพระตถาคต;
นิยาม ๕ ...
http://ppantip.com/topic/33446160/comment5
[223] นิยาม 5 (กำหนดอันแน่นอน, ความเป็นไปอันมีระเบียบแน่นอนของธรรมชาติ, กฎธรรมชาติ — orderliness of nature; the five aspects of natural law)
1. อุตุนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับอุณหภูมิ หรือปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ โดยเฉพาะดินน้ำอากาศ และฤดูกาล อันเป็นสิ่งแวดล้อมสำหรับมนุษย์ — physical inorganic order; physical laws)
2. พีชนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ มีพันธุกรรมเป็นต้น — physical organic order; biological laws)
3. จิตตนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการทำงานของจิต — psychic law)
4. กรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ คือ กระบวนการให้ผลของการกระทำ — order of act and result; the law of Kamma; moral laws)
5. ธรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับความสัมพันธ์และอาการที่เป็นเหตุเป็นผลแก่กันแห่งสิ่งทั้งหลาย — order of the norm; the general law of cause and effect; causality and conditionality)
อะไรคือสัมมาทิฏฐิ (ปัญญา)
http://ppantip.com/topic/33586481/comment25
อำนาจกรรม
http://ppantip.com/topic/32278286/comment5
อนึ่งมนุษย์ที่มีสภาพแตกต่างกันนั้น มูลปัณณาสก์ มัชฌิมนิกาย แสดงไว้ว่า
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=4&t=21279
ฆ่าสัตว์ ไม่มีความกรุณา เป็นเหตุให้ อายุสั้น
ไม่ฆ่าสัตว์ มีความกรุณา เป็นเหตุให้ อายุยืน
เบียดเบียนสัตว์ เป็นเหตุให้ มีโรคมาก
ไม่เบียดเบียนสัตว์ เป็นเหตุให้ มีโรคน้อย
มักโกรธ มีความคับแค้นใจมาก เป็นเหตุให้ ผิวพรรณทราม
ไม่โกรธ ไม่มีความคับแค้นใจ เป็นเหตุให้ ผิวพรรณผุดผ่อง
มีใจประกอบด้วยความริษยาผู้อื่น เป็นเหตุให้ มีอานุภาพน้อย
มีใจไม่ริษยาผู้อื่น เป็นเหตุให้ มีอานุภาพมาก
ไม่บริจาคทาน เป็นเหตุให้ ยากจน อนาถา
บริจาคทาน เป็นเหตุให้ มีโภคสมบัติมาก
กระด้าง ถือตัว เป็นเหตุให้ เกิดในสกุลต่ำ
ไม่กระด้าง ไม่ถือตัว เป็นเหตุให้ เกิดในสกุลสูง
ไม่อยากรู้ ไม่ไต่ถามผู้มีปัญญา เป็นเหตุให้ มีปัญญาน้อย
อยากรู้ หมั่นไต่ถามผู้มีปัญญา เป็นเหตุให้ มีปัญญามาก
+++++++++++++++++++++++++++++++++
พุทธศาสนาสอนเรื่องเหตุและผล ?
https://ppantip.com/topic/35974364/comment7
ภิกษุ ๗ รูปอดอาหาร ๗ วันในถ้ำ
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=19&p=11
ภิกษุ ๗ รูปอีกพวกหนึ่งไปจากปัจจันตชนบท เพื่อต้องการจะเฝ้าพระศาสดา เวลาเย็น เข้าไปสู่วัดแห่งหนึ่ง แล้วถามถึงที่พัก. ก็ในถ้ำแห่งหนึ่ง มีเตียงอยู่ ๗ เตียง เมื่อภิกษุเหล่านั้นได้ถ้ำนั้นแล นอนบนเตียงนั้นแล้ว, ตอนกลางคืน แผ่นหินเท่าเรือนยอดกลิ้งลงมาปิดประตูถ้ำไว้
พวกภิกษุเจ้าของถิ่นกล่าวว่า "พวกเราให้ถ้ำนี้ถึงแก่ภิกษุอาคันตุกะ ก็แผ่นหินใหญ่นี้ ได้ตั้งปิดประตูถ้ำเสียแล้ว พวกเราจักนำแผ่นหินนั้นออก" แล้วให้ประชุมพวกมนุษย์จากบ้าน ๗ ตำบลโดยรอบ แม้พยายามอยู่ ก็ไม่อาจยังแผ่นหินนั้นให้เขยื้อนจากที่ได้.
แม้พวกภิกษุผู้เข้าไป (อยู่) ในภายใน ก็พยายามเหมือนกัน. แม้เมื่อเป็นเช่นนั้น ก็ยังไม่อาจให้แผ่นหินนั้นเขยื้อนได้ตลอด ๗ วัน, พวกภิกษุอาคันตุกะ อันความหิวแผดเผาแล้วตลอด ๗ วัน ได้เสวยทุกข์ใหญ่แล้ว.
ในวันที่ ๗ แผ่นหินก็ได้กลับกลิ้งออกไปเอง.
พวกภิกษุออกไปแล้ว คิดว่า "บาปของพวกเรานี้ เว้นพระศาสดาเสียแล้วใครเล่าจักรู้ได้ พวกเราจักทูลถามพระศาสดา" ดังนี้แล้ว ก็พากันหลีกไป.
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
ทำบุญอะไร ได้เป็นเจ้าหญิง ?
ตามหลักธรรมด้านบนเลยครับ
แต่ กรณีถูกกักขังในกรงทอง ก็คงเคยทำ บาป ในลักษณะเดียวกันมาก่อน ครับ
เช่น เคยขังแย้ไว้ เลยไป ๗ วันพึ่งนึกได้ เป็นต้น
ในทางธรรม หมายถึง เชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ, ความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล, ความมั่นใจในความจริงความดีสิ่งดีงามและในการทำความดีไม่ลู่ไหลตื่นตูมไปตามลักษณะอาการภายนอก
ท่านแสดงสืบๆ กันมาว่า ๔ อย่างคือ
๑. กัมมสัทธา เชื่อกรรม
๒. วิปากสัทธา เชื่อผลของกรรม
๓. กัมมัสสกตาสัทธา เชื่อว่าสัตว์มีกรรมเป็นของตัว ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
๔. ตถาคตโพธิสัทธา เชื่อปัญญาตรัสรู้ของพระตถาคต;
นิยาม ๕ ...
http://ppantip.com/topic/33446160/comment5
[223] นิยาม 5 (กำหนดอันแน่นอน, ความเป็นไปอันมีระเบียบแน่นอนของธรรมชาติ, กฎธรรมชาติ — orderliness of nature; the five aspects of natural law)
1. อุตุนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับอุณหภูมิ หรือปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ โดยเฉพาะดินน้ำอากาศ และฤดูกาล อันเป็นสิ่งแวดล้อมสำหรับมนุษย์ — physical inorganic order; physical laws)
2. พีชนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ มีพันธุกรรมเป็นต้น — physical organic order; biological laws)
3. จิตตนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการทำงานของจิต — psychic law)
4. กรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ คือ กระบวนการให้ผลของการกระทำ — order of act and result; the law of Kamma; moral laws)
5. ธรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับความสัมพันธ์และอาการที่เป็นเหตุเป็นผลแก่กันแห่งสิ่งทั้งหลาย — order of the norm; the general law of cause and effect; causality and conditionality)
อะไรคือสัมมาทิฏฐิ (ปัญญา)
http://ppantip.com/topic/33586481/comment25
อำนาจกรรม
http://ppantip.com/topic/32278286/comment5
อนึ่งมนุษย์ที่มีสภาพแตกต่างกันนั้น มูลปัณณาสก์ มัชฌิมนิกาย แสดงไว้ว่า
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=4&t=21279
ฆ่าสัตว์ ไม่มีความกรุณา เป็นเหตุให้ อายุสั้น
ไม่ฆ่าสัตว์ มีความกรุณา เป็นเหตุให้ อายุยืน
เบียดเบียนสัตว์ เป็นเหตุให้ มีโรคมาก
ไม่เบียดเบียนสัตว์ เป็นเหตุให้ มีโรคน้อย
มักโกรธ มีความคับแค้นใจมาก เป็นเหตุให้ ผิวพรรณทราม
ไม่โกรธ ไม่มีความคับแค้นใจ เป็นเหตุให้ ผิวพรรณผุดผ่อง
มีใจประกอบด้วยความริษยาผู้อื่น เป็นเหตุให้ มีอานุภาพน้อย
มีใจไม่ริษยาผู้อื่น เป็นเหตุให้ มีอานุภาพมาก
ไม่บริจาคทาน เป็นเหตุให้ ยากจน อนาถา
บริจาคทาน เป็นเหตุให้ มีโภคสมบัติมาก
กระด้าง ถือตัว เป็นเหตุให้ เกิดในสกุลต่ำ
ไม่กระด้าง ไม่ถือตัว เป็นเหตุให้ เกิดในสกุลสูง
ไม่อยากรู้ ไม่ไต่ถามผู้มีปัญญา เป็นเหตุให้ มีปัญญาน้อย
อยากรู้ หมั่นไต่ถามผู้มีปัญญา เป็นเหตุให้ มีปัญญามาก
+++++++++++++++++++++++++++++++++
พุทธศาสนาสอนเรื่องเหตุและผล ?
https://ppantip.com/topic/35974364/comment7
ภิกษุ ๗ รูปอดอาหาร ๗ วันในถ้ำ
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=19&p=11
ภิกษุ ๗ รูปอีกพวกหนึ่งไปจากปัจจันตชนบท เพื่อต้องการจะเฝ้าพระศาสดา เวลาเย็น เข้าไปสู่วัดแห่งหนึ่ง แล้วถามถึงที่พัก. ก็ในถ้ำแห่งหนึ่ง มีเตียงอยู่ ๗ เตียง เมื่อภิกษุเหล่านั้นได้ถ้ำนั้นแล นอนบนเตียงนั้นแล้ว, ตอนกลางคืน แผ่นหินเท่าเรือนยอดกลิ้งลงมาปิดประตูถ้ำไว้
พวกภิกษุเจ้าของถิ่นกล่าวว่า "พวกเราให้ถ้ำนี้ถึงแก่ภิกษุอาคันตุกะ ก็แผ่นหินใหญ่นี้ ได้ตั้งปิดประตูถ้ำเสียแล้ว พวกเราจักนำแผ่นหินนั้นออก" แล้วให้ประชุมพวกมนุษย์จากบ้าน ๗ ตำบลโดยรอบ แม้พยายามอยู่ ก็ไม่อาจยังแผ่นหินนั้นให้เขยื้อนจากที่ได้.
แม้พวกภิกษุผู้เข้าไป (อยู่) ในภายใน ก็พยายามเหมือนกัน. แม้เมื่อเป็นเช่นนั้น ก็ยังไม่อาจให้แผ่นหินนั้นเขยื้อนได้ตลอด ๗ วัน, พวกภิกษุอาคันตุกะ อันความหิวแผดเผาแล้วตลอด ๗ วัน ได้เสวยทุกข์ใหญ่แล้ว.
ในวันที่ ๗ แผ่นหินก็ได้กลับกลิ้งออกไปเอง.
พวกภิกษุออกไปแล้ว คิดว่า "บาปของพวกเรานี้ เว้นพระศาสดาเสียแล้วใครเล่าจักรู้ได้ พวกเราจักทูลถามพระศาสดา" ดังนี้แล้ว ก็พากันหลีกไป.
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
ทำบุญอะไร ได้เป็นเจ้าหญิง ?
ตามหลักธรรมด้านบนเลยครับ
แต่ กรณีถูกกักขังในกรงทอง ก็คงเคยทำ บาป ในลักษณะเดียวกันมาก่อน ครับ
เช่น เคยขังแย้ไว้ เลยไป ๗ วันพึ่งนึกได้ เป็นต้น
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 9
จิตที่ตั้งมั่นทางโลก เชื่อ ศรัทธาเทพเทวดา ตั้งมั่นในความดี ทาน ศีล สติ สมาธิ ปัญญา วิชาทางโลก
อนุโลมปฏิจจสมุปบาท นิวรณ์5 สังโยชน์1-5 จิตอกุศล14 วิญญาณในภพ3
นึกคิดกิเลส-พูดทำเลี้ยงชีพทางโลกกาม ตามความชอบของตน คนอื่น(ไม่ชอบ หรือเฉยๆ)
1.โลภแล้วได้ตามที่ต้องการ ปิติ สุขสบายใจ บุญ ภพสวรรค์
กฎไตรลักษณ์ ชรา-มรณะ เกิดพร้อม โลภแล้วไม่ได้ ผิดหวัง(ทำดีไม่ได้ดี)
เสื่อม เจ็บ ดับ ถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย(เทพเทวดาอวตารในรูปมารทดสอบจิต)
ชรา-มรณะ เกิดพร้อม สืบต่อ(ส่วนทีสุดโต่งทั้งสอง และสังสารวัฏ)
2.จิตลังเลไม่แน่ใจ สลับไปตั้งมั่นในความโกรธ เกลียด ไม่พอใจขัดใจ ร้อนใจ แค้นใจ บาป ภพนรก
หรือ จิตลังเลไม่แน่ใจ สลับไปตั้งมั่นในความหลง หดหู่ ซึมเศร้า ทุกข์ ภพโลก
นึกคิดกิเลส-พูดทำเลี้ยงชีพทางโลกกาม ตามความชอบของตน คนอื่น(ไม่ชอบ หรือเฉยๆ)
จิตที่ตั้งมั่นทางพรหมโลก เชื่อ ศรัทธาพรหม ตั้งมั่นในสมาธิ (ฌาน รูปพรหม ญาณ อรูปพรหม)
ฌาน เพ่งอารมณ์ ปิติ สุข สงบ ญาณ เพ่งความไม่มีอารมณ์ กำหนดรู้ หยั่งรู้ สังโยชน์6-10
ไม่ได้นึกคิดกิเลส-พูดทำเลี้ยงชีพทางโลกกาม และไม่ได้อยุ่ในทางสายกลาง
กฎไตรลักษณ์ ชรา-มรณะ เกิดพร้อม เสื่อม เจ็บ ดับ ออกจากฌาน หรือหมดญาณ
กลับมาเกิดจิตอกุศล14 วิญญาณในภพ3 ส่วนทีสุดโต่งทั้งสอง และสังสารวัฏ หรือ
กลับมาละอกุศล14 วิญญาณในภพ3 ส่วนทีสุดโต่งทั้งสอง และสังสารวัฏ
จิตตั้งมั่นทางสายกลาง เชื่อ ศรัทธาพระพุทธเจ้า
ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท ละนิวรณ์5 สังโยชน์10 จิตอกุศล14 วิญญาณในภพ3 และพรหมโลก
1.ทาน ให้รับ สละ ละ ปล่อย วาง และไม่พัวพันในความคิด
เจตนา อารมณ์ ความเชื่อ ความเห็นที่สุดโต่งทั้งสอง
2.ศีล รักษา ตั้งมั่ง ฝึกจิตให้เป็นปกติอยู่ สงบ เป็นกลาง ซื่อตรงในความรู้ อุเบกขาญาณ
สงบจากเจตนา อารมณ์ ความเชื่อ ความเห็นที่สุดโต่งทั้งสอง
ทาน ศีล สติชอบ สมาธิชอบ อุเบกขาญาณ อาศัย สฬายตนะผัสสะ
รูปละร่างกายวัตถุกาม พูดทำเลี้ยงชีพชอบตามพระพุทธเจ้า
กฎไตรลักษณ์ ชรา-มรณะ เกิดพร้อม ความเสื่อม เจ็บ ดับ หรือ
การถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย สำพร้อมสืบต่อ เมตตา มุทิตา ปัญญาญาณ
(ทาน อภัยทาน อโหสิกรรม ด้วยความยินดี ศีล ตั้งมั่นรักษาจิตให้สงบอยู่ได้ตลอดไป)
อนุโลมปฏิจจสมุปบาท นิวรณ์5 สังโยชน์1-5 จิตอกุศล14 วิญญาณในภพ3
นึกคิดกิเลส-พูดทำเลี้ยงชีพทางโลกกาม ตามความชอบของตน คนอื่น(ไม่ชอบ หรือเฉยๆ)
1.โลภแล้วได้ตามที่ต้องการ ปิติ สุขสบายใจ บุญ ภพสวรรค์
กฎไตรลักษณ์ ชรา-มรณะ เกิดพร้อม โลภแล้วไม่ได้ ผิดหวัง(ทำดีไม่ได้ดี)
เสื่อม เจ็บ ดับ ถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย(เทพเทวดาอวตารในรูปมารทดสอบจิต)
ชรา-มรณะ เกิดพร้อม สืบต่อ(ส่วนทีสุดโต่งทั้งสอง และสังสารวัฏ)
2.จิตลังเลไม่แน่ใจ สลับไปตั้งมั่นในความโกรธ เกลียด ไม่พอใจขัดใจ ร้อนใจ แค้นใจ บาป ภพนรก
หรือ จิตลังเลไม่แน่ใจ สลับไปตั้งมั่นในความหลง หดหู่ ซึมเศร้า ทุกข์ ภพโลก
นึกคิดกิเลส-พูดทำเลี้ยงชีพทางโลกกาม ตามความชอบของตน คนอื่น(ไม่ชอบ หรือเฉยๆ)
จิตที่ตั้งมั่นทางพรหมโลก เชื่อ ศรัทธาพรหม ตั้งมั่นในสมาธิ (ฌาน รูปพรหม ญาณ อรูปพรหม)
ฌาน เพ่งอารมณ์ ปิติ สุข สงบ ญาณ เพ่งความไม่มีอารมณ์ กำหนดรู้ หยั่งรู้ สังโยชน์6-10
ไม่ได้นึกคิดกิเลส-พูดทำเลี้ยงชีพทางโลกกาม และไม่ได้อยุ่ในทางสายกลาง
กฎไตรลักษณ์ ชรา-มรณะ เกิดพร้อม เสื่อม เจ็บ ดับ ออกจากฌาน หรือหมดญาณ
กลับมาเกิดจิตอกุศล14 วิญญาณในภพ3 ส่วนทีสุดโต่งทั้งสอง และสังสารวัฏ หรือ
กลับมาละอกุศล14 วิญญาณในภพ3 ส่วนทีสุดโต่งทั้งสอง และสังสารวัฏ
จิตตั้งมั่นทางสายกลาง เชื่อ ศรัทธาพระพุทธเจ้า
ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท ละนิวรณ์5 สังโยชน์10 จิตอกุศล14 วิญญาณในภพ3 และพรหมโลก
1.ทาน ให้รับ สละ ละ ปล่อย วาง และไม่พัวพันในความคิด
เจตนา อารมณ์ ความเชื่อ ความเห็นที่สุดโต่งทั้งสอง
2.ศีล รักษา ตั้งมั่ง ฝึกจิตให้เป็นปกติอยู่ สงบ เป็นกลาง ซื่อตรงในความรู้ อุเบกขาญาณ
สงบจากเจตนา อารมณ์ ความเชื่อ ความเห็นที่สุดโต่งทั้งสอง
ทาน ศีล สติชอบ สมาธิชอบ อุเบกขาญาณ อาศัย สฬายตนะผัสสะ
รูปละร่างกายวัตถุกาม พูดทำเลี้ยงชีพชอบตามพระพุทธเจ้า
กฎไตรลักษณ์ ชรา-มรณะ เกิดพร้อม ความเสื่อม เจ็บ ดับ หรือ
การถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย สำพร้อมสืบต่อ เมตตา มุทิตา ปัญญาญาณ
(ทาน อภัยทาน อโหสิกรรม ด้วยความยินดี ศีล ตั้งมั่นรักษาจิตให้สงบอยู่ได้ตลอดไป)
ความคิดเห็นที่ 7
205 ทำไมจึงสวย รวยทรัพย์ สูงศักดิ์
ปัญหา เพราะเหตุไร สตรีบางคนเกิดมาจึงมีรูปงาม บริบูรณ์ด้วยทรัพย์สมบัติ และสูงศักดิ์อีกด้วย?
พุทธดำรัสตอบ “.....ดูก่อนพระนางมัลลิกา....มาตุคาม (สตรี) บางคนในโลกนี้ ไม่เป็นผู้มักโกรธ ไม่มากไปด้วยความแค้นใจ ถูกว่าแม้เล็กน้อยก็ไม่ขัดเคือง ไม่ฉุนเฉียว ไม่กระฟัดกระเฟียด ไม่กระด้างกระเดื่อง... เป็นผู้ให้ทานคือข้าว น้ำ ผ้า ยวดยาน ระเบียบ ของหอม..... แก่สมณะหรือพราหมณ์ และเป็นผู้ไม่มีใจริษยาในลาภ สักการะ..... ของผู้อื่น ไม่กีดกัน ไม่ตัดรอน... ถ้ามาตุคามนั้นจุติจากอัตตภาพนั้น..... กลับมาเกิดในชาติใดๆ ย่อมเป็นผู้มีรูปงาม น่าดู น่าชม..... ประกอบด้วยความเป็นผู้มีผิวพรรณดียิ่งนัก ทั้งเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคสมบัติมากและสูงศักดิ์ฯ”
มหาวรรค จ. อํ. (๑๙๗)
ปัญหา เพราะเหตุไร สตรีบางคนเกิดมาจึงมีรูปงาม บริบูรณ์ด้วยทรัพย์สมบัติ และสูงศักดิ์อีกด้วย?
พุทธดำรัสตอบ “.....ดูก่อนพระนางมัลลิกา....มาตุคาม (สตรี) บางคนในโลกนี้ ไม่เป็นผู้มักโกรธ ไม่มากไปด้วยความแค้นใจ ถูกว่าแม้เล็กน้อยก็ไม่ขัดเคือง ไม่ฉุนเฉียว ไม่กระฟัดกระเฟียด ไม่กระด้างกระเดื่อง... เป็นผู้ให้ทานคือข้าว น้ำ ผ้า ยวดยาน ระเบียบ ของหอม..... แก่สมณะหรือพราหมณ์ และเป็นผู้ไม่มีใจริษยาในลาภ สักการะ..... ของผู้อื่น ไม่กีดกัน ไม่ตัดรอน... ถ้ามาตุคามนั้นจุติจากอัตตภาพนั้น..... กลับมาเกิดในชาติใดๆ ย่อมเป็นผู้มีรูปงาม น่าดู น่าชม..... ประกอบด้วยความเป็นผู้มีผิวพรรณดียิ่งนัก ทั้งเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคสมบัติมากและสูงศักดิ์ฯ”
มหาวรรค จ. อํ. (๑๙๗)
แสดงความคิดเห็น
ทำบุญอะไร ได้เป็นเจ้าหญิง ?
http://www.thairath.co.th/content/1437738