Salman Khan ชี้ใกล้หมดยุคเรียนหนังสือครึ่งชีวิตเพื่อจบไปตกงาน เอกชนจะผลิตนักศึกษาป้อนเข้าตลาดกันเอง
By CEO News - 4 February, 2018028997
เคยสอนวิทยาศาสตร์และให้ผู้เรียนไปดูคลิปของ Khan Academy นอกเหนือจากการอ่านตำราเรียน ก็โดนโวยวายว่าผมสอนไม่ตรงหลักสูตร สอนไม่ดี ฯลฯ .. เหนือยใจ .. Aj Yuth 181115 0722 hrs
https://ppantip.com/topic/38270314
Salman Khan นักธุรกิจด้านการศึกษาชื่อดัง และเป็นผู้พัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์กลุ่มแรก ๆ ของโลก ผู้ก่อตั้ง Khan Academy โรงเรียนสอน คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ แบบออนไลน์ ที่ได้รับการสนับสนุนจากเอกชนรายใหญ่อย่าง Microsoft และ Google ได้พยากรณ์รูปแบบการศึกษาที่จะเปลี่ยนไปในปี ค.ศ. 2026 ผ่านทางเว็บไซต์ Quora อย่างน่าสนใจ .. ไปอ่านต่อที่
https://www.ceoblog.co/salman-khan-prediction/
Salman Khan เขียนมุมมองผ่าน Quora ว่า…
“…First, mastery-learning will become much more mainstream. It is an old idea that you shouldn’t have to learn a more advanced topic until you have proficiency in a more basic one.
As intuitive as that may seem, when mass public education was introduced about 200 years ago, it was not practical to allow every student to progress in a personalized way.
Instead, students got pushed ahead even when gaps were identified in their learning. (“Got a “C” on that basic exponents exam, too bad. We now have to learn negative exponents.”) That process caused students to accumulate gaps until it was debilitating in an upper-level class.
Now we have the technology to meet every student where they are and provide teachers with real-time data so that it is practical to do mastery learning in a normal sized classroom…”
อธิบายโดยสรุปคือ…
การศึกษาจากอดีตถึงปัจจุบันยังไม่ได้รับปรับปรุงให้เข้ากับยุคสมัย ยังคงเป็นการบังคับเรียนวิชาจำนวนมากและเกิดระบบคัดเกรดและแบ่งแยกนักศึกษา นักศึกษาที่เรียนไม่ดี (อันเกิดจากความไม่ถนัดโดยธรรมชาติของปัจเจกบุคคล) อาจจะเสียโอกาสในการศึกษาระดับต่อไปจวบจนกระทบไปยังเส้นทางอาชีพหลังเรียนจบ
แต่วันนี้เป็นต้นไป เทคโนโลยีเริ่มมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนรู้ และพัฒนารูปแบบการศึกษาในอนาคตให้มีความ Personalize มากขึ้น
3 แนวโน้มการศึกษาที่ Salman Khan พยากรณ์
1. การศึกษาในอนาคตมีแนวโน้มจะยกให้ ‘ผู้เรียนเป็นตัวตั้ง’
Khan เล่าว่าระบบการศึกษาในระบบปัจจุบันยังยึดตามกฏเมื่อ 200 ปีก่อน คือ สถาบันเป็นตัวตั้ง บังคับเรียนวิชาจำนวนมาก ทำให้ผู้เรียนไม่สามารถพัฒนาความถนัดให้ถึงที่สุด เพราะต้องไปเสียเวลากับสิ่งที่ไม่ได้ถนัดจากการบังคับเรียน
แต่เพราะเทคโนโลยีก่อเกิดแพลทฟอร์มการศึกษาทางเลือกมากมาย ทำให้คนสามารถมุ่งไปเรียนสิ่งที่อยากเรียน อยากรู้ และอยากเป็นได้ทันทีแล้วเอาให้สุดในจุดที่ยืน ยกตัวอย่าง ที่กูเกิ้ลประกาศหลักสูตร Google IT Support Professional Certificate ที่ชูจัดเด่นว่า ผู้เรียนไม่ต้องมีพื้นฐานใด ๆ ก็เรียนได้ ออกใบรับรอง สมัครงานได้ เป็นต้น
2. องค์กรเอกชนในภาคธุรกิจจะออกวุฒิเองได้ และมีความเป็นไปได้ที่จะใช้แทนใบปริญญาบัตรจากสถาบันการศึกษาแบบดั้งเดิม
Salman Khan บอกว่า รูปแบบการศึกษาแบบดั้งเดิมเน้น ปริมาณ ได้แก่ เรียนเยอะ ๆ เรียนหลาย ๆ แขนง และเน้นจำนวนชั่วโมงเรียนมาก ๆ ซึ่งปัจจุบันไม่ได้เป็นผลดี และเป็นเหตุผลที่บริษัทเอกชนหลายแห่งในสหรัฐอเมริกา (รวมถึงไทย) ต้องให้ผู้สมัครงานทำแบบทดสอบวัดผลของบริษัทอีกครั้งก่อนพิจารณาเข้าทำงาน เพราะ เพราะวุฒิจากการศึกษาแบบดั้งเดิมไม่ตอบโจทย์นายจ้างงในทางปฏิบัติ (แค่เป็นเอกสารประกอบสมัครงานเท่านั้น)
Khan พยากรณ์ว่าในอีก 10 ปี บริษัทเอกชนที่ได้รับการนับถือระดับสากล (อาทิ Google, Microsoft เป็นต้น) จะกลายเป็นสถาบันการศึกษาเสียเอง พวกเขาสร้างจะหลักสูตร และออกใบวุฒิบัตร เป็นผู้ผลิตผู้เชี่ยวชาญป้อนบริษัทต่าง ๆ และ วุฒิบัตร จากบริษัทเอกชนเหล่านั้นจะได้รับการยอมรับจากเอกชนด้วยกันมากกว่าจากสถาบันการศึกษาแบบดั้งเดิม
3. ในอนาคต คนจะมีอิสระในการพัฒนาความเชี่ยวชาญและพัฒนาเส้นทางอาชีพของตน
Khan ผู้สำเร็จจากสถาบันการศึกษาแบบดั้งเดิมมีแนวโน้มตกงานเพิ่มขึ้นในอัตราเร่ง จากนี้ไปวุฒิการศึกษาอย่างเดียวไม่เพียงพอ แต่ประสบการณ์ทำงาน ประวัติผลงาน หรือ พอร์ตโฟลิโอในการทำงานจริงเป็นสิ่งสำคัญยิ่งกว่า
ดังนั้น รูปแบบการศึกษาในอนาคตจะมีความยืดหยุ่นสูง โดยอาจไม่จำเป็นต้องเรียน 4 ปีรวดแล้วค่อยไปหางานทำภายหลัง แต่จะสามารถ Personalize การเรียน และ การทำงาน คู่กันไป อาทิ เรียนวิชาเฉพาะทางที่สนใจและถนัดผ่านหลักสูตรเข้ม 12 เดือน ได้ใบรับรองไปสมัครทำงานเก็บประสบการณ์ และทยอยเรียนวิชาในระดับต่อ ๆ ไป
การทำเช่นนี้จะทำให้ วัยวุฒิ, คุณวุติ, ประสบการณ์ และประวัติผลงาน หรือเรียกรวม ๆ ว่า Career path ของบุคคลเติบโตอย่างเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น
Salman Khan คือใคร?
Salman Khan เป็นนักศึกษาอัจฉริยะ ผู้แตกฉานหลากหลายศาสตร์ที่มีสอนในสถาบันการศึกษาและเขานำมันมาสอนต่อแบบเร่งรัดในเว็บไซต์ชื่อ Khan Academy และที่สำคัญเขาสอนฟรี แต่หลังจากสอนฟรีไปเป็นปี ๆ โดยไม่มีรายได้ เขาก็เริ่มจะไปต่อไม่ไหว แต่เพราะสิ่งที่เขาทำมันดีมากจนปล่อยให้ตายไปไม่ได้ ผู้คนที่ติดตามเขาจึงเริ่มบริจาคเงินเพื่อให้แพลทฟอร์มของเขาสามารถดำเนินการต่อได้
ผู้สนับสนุน กลุ่มแรก ๆ คือ Bill Gates แห่ง Microsoft บริจาคเงิน คิดเป็นเงินไทยประมาณ 50 ล้านบาท และตลอดเวลา 7 ปีที่ผ่านมา Bill Gates สนับสนุนเงินให้เขาแล้วมากกว่า 300 ล้านบาทนอกจากนั้น Google ก็ยังเข้ามาร่วมสนับสนุนเงินและให้ใช้ระบบ Google Cloud ในการโฮสต์เว็บไซต์และข้อมูลต่าง ๆ
ปัจจุบัน Salman Khan เติบโตกลายเป็นเจ้าของธุรกิจการศึกษาสมัยใหม่เต็มตัว และเปิดโรงเรียน Off-line ของตัวเองชื่อ Khan Lab School
https://en.wikipedia.org/wiki/Sal_Khan
Salman Khan
Born Salman Khan
October 11, 1976 (age 42)
Metairie, Louisiana, U.S.
Residence Mountain View, California, U.S.
Nationality American
Other names Sal, "The Salmon"
Education Grace King High School
Alma mater
MIT (B.S., M.S.)
Harvard University (M.B.A.)
Occupation Teacher,
Executive Director of Khan Academy,
Founder of Khan Lab School,
Board Member of Aspen Institute
Salary $815,000 (2016)[1]
Spouse(s) Umaima Marvi
Salman “Sal” Khan (born October 11, 1976) is an American educator and entrepreneur who founded Khan Academy, a free online education platform and an organization with which he has produced over 6,500 video lessons teaching a wide spectrum of academic subjects, originally focusing on mathematics and sciences.[2] He is also the founder of Khan Lab School, a brick-and-mortar school associated with Khan Academy.[3]
As of October 2018, the Khan Academy channel on YouTube has more than 4.32 million subscribers and the Khan Academy videos have been viewed more than 1 and a half billion times.[4] In 2012, Time named Salman Khan in its annual list of the 100 most influential people in the world.[5] Forbes magazine featured Khan on its cover, with the story "$1 Trillion Opportunity."[6]
Khan Academy ...
https://www.khanacademy.org/
Salman Khan กับอนาคตการศึกษา (Future of education) CEO News... 15/11/2561 สรายุทธ กันหลง
Salman Khan ชี้ใกล้หมดยุคเรียนหนังสือครึ่งชีวิตเพื่อจบไปตกงาน เอกชนจะผลิตนักศึกษาป้อนเข้าตลาดกันเอง
By CEO News - 4 February, 2018028997
เคยสอนวิทยาศาสตร์และให้ผู้เรียนไปดูคลิปของ Khan Academy นอกเหนือจากการอ่านตำราเรียน ก็โดนโวยวายว่าผมสอนไม่ตรงหลักสูตร สอนไม่ดี ฯลฯ .. เหนือยใจ .. Aj Yuth 181115 0722 hrs
https://ppantip.com/topic/38270314
Salman Khan นักธุรกิจด้านการศึกษาชื่อดัง และเป็นผู้พัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์กลุ่มแรก ๆ ของโลก ผู้ก่อตั้ง Khan Academy โรงเรียนสอน คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ แบบออนไลน์ ที่ได้รับการสนับสนุนจากเอกชนรายใหญ่อย่าง Microsoft และ Google ได้พยากรณ์รูปแบบการศึกษาที่จะเปลี่ยนไปในปี ค.ศ. 2026 ผ่านทางเว็บไซต์ Quora อย่างน่าสนใจ .. ไปอ่านต่อที่
https://www.ceoblog.co/salman-khan-prediction/
Salman Khan เขียนมุมมองผ่าน Quora ว่า…
“…First, mastery-learning will become much more mainstream. It is an old idea that you shouldn’t have to learn a more advanced topic until you have proficiency in a more basic one.
As intuitive as that may seem, when mass public education was introduced about 200 years ago, it was not practical to allow every student to progress in a personalized way.
Instead, students got pushed ahead even when gaps were identified in their learning. (“Got a “C” on that basic exponents exam, too bad. We now have to learn negative exponents.”) That process caused students to accumulate gaps until it was debilitating in an upper-level class.
Now we have the technology to meet every student where they are and provide teachers with real-time data so that it is practical to do mastery learning in a normal sized classroom…”
อธิบายโดยสรุปคือ…
การศึกษาจากอดีตถึงปัจจุบันยังไม่ได้รับปรับปรุงให้เข้ากับยุคสมัย ยังคงเป็นการบังคับเรียนวิชาจำนวนมากและเกิดระบบคัดเกรดและแบ่งแยกนักศึกษา นักศึกษาที่เรียนไม่ดี (อันเกิดจากความไม่ถนัดโดยธรรมชาติของปัจเจกบุคคล) อาจจะเสียโอกาสในการศึกษาระดับต่อไปจวบจนกระทบไปยังเส้นทางอาชีพหลังเรียนจบ
แต่วันนี้เป็นต้นไป เทคโนโลยีเริ่มมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนรู้ และพัฒนารูปแบบการศึกษาในอนาคตให้มีความ Personalize มากขึ้น
3 แนวโน้มการศึกษาที่ Salman Khan พยากรณ์
1. การศึกษาในอนาคตมีแนวโน้มจะยกให้ ‘ผู้เรียนเป็นตัวตั้ง’
Khan เล่าว่าระบบการศึกษาในระบบปัจจุบันยังยึดตามกฏเมื่อ 200 ปีก่อน คือ สถาบันเป็นตัวตั้ง บังคับเรียนวิชาจำนวนมาก ทำให้ผู้เรียนไม่สามารถพัฒนาความถนัดให้ถึงที่สุด เพราะต้องไปเสียเวลากับสิ่งที่ไม่ได้ถนัดจากการบังคับเรียน
แต่เพราะเทคโนโลยีก่อเกิดแพลทฟอร์มการศึกษาทางเลือกมากมาย ทำให้คนสามารถมุ่งไปเรียนสิ่งที่อยากเรียน อยากรู้ และอยากเป็นได้ทันทีแล้วเอาให้สุดในจุดที่ยืน ยกตัวอย่าง ที่กูเกิ้ลประกาศหลักสูตร Google IT Support Professional Certificate ที่ชูจัดเด่นว่า ผู้เรียนไม่ต้องมีพื้นฐานใด ๆ ก็เรียนได้ ออกใบรับรอง สมัครงานได้ เป็นต้น
2. องค์กรเอกชนในภาคธุรกิจจะออกวุฒิเองได้ และมีความเป็นไปได้ที่จะใช้แทนใบปริญญาบัตรจากสถาบันการศึกษาแบบดั้งเดิม
Salman Khan บอกว่า รูปแบบการศึกษาแบบดั้งเดิมเน้น ปริมาณ ได้แก่ เรียนเยอะ ๆ เรียนหลาย ๆ แขนง และเน้นจำนวนชั่วโมงเรียนมาก ๆ ซึ่งปัจจุบันไม่ได้เป็นผลดี และเป็นเหตุผลที่บริษัทเอกชนหลายแห่งในสหรัฐอเมริกา (รวมถึงไทย) ต้องให้ผู้สมัครงานทำแบบทดสอบวัดผลของบริษัทอีกครั้งก่อนพิจารณาเข้าทำงาน เพราะ เพราะวุฒิจากการศึกษาแบบดั้งเดิมไม่ตอบโจทย์นายจ้างงในทางปฏิบัติ (แค่เป็นเอกสารประกอบสมัครงานเท่านั้น)
Khan พยากรณ์ว่าในอีก 10 ปี บริษัทเอกชนที่ได้รับการนับถือระดับสากล (อาทิ Google, Microsoft เป็นต้น) จะกลายเป็นสถาบันการศึกษาเสียเอง พวกเขาสร้างจะหลักสูตร และออกใบวุฒิบัตร เป็นผู้ผลิตผู้เชี่ยวชาญป้อนบริษัทต่าง ๆ และ วุฒิบัตร จากบริษัทเอกชนเหล่านั้นจะได้รับการยอมรับจากเอกชนด้วยกันมากกว่าจากสถาบันการศึกษาแบบดั้งเดิม
3. ในอนาคต คนจะมีอิสระในการพัฒนาความเชี่ยวชาญและพัฒนาเส้นทางอาชีพของตน
Khan ผู้สำเร็จจากสถาบันการศึกษาแบบดั้งเดิมมีแนวโน้มตกงานเพิ่มขึ้นในอัตราเร่ง จากนี้ไปวุฒิการศึกษาอย่างเดียวไม่เพียงพอ แต่ประสบการณ์ทำงาน ประวัติผลงาน หรือ พอร์ตโฟลิโอในการทำงานจริงเป็นสิ่งสำคัญยิ่งกว่า
ดังนั้น รูปแบบการศึกษาในอนาคตจะมีความยืดหยุ่นสูง โดยอาจไม่จำเป็นต้องเรียน 4 ปีรวดแล้วค่อยไปหางานทำภายหลัง แต่จะสามารถ Personalize การเรียน และ การทำงาน คู่กันไป อาทิ เรียนวิชาเฉพาะทางที่สนใจและถนัดผ่านหลักสูตรเข้ม 12 เดือน ได้ใบรับรองไปสมัครทำงานเก็บประสบการณ์ และทยอยเรียนวิชาในระดับต่อ ๆ ไป
การทำเช่นนี้จะทำให้ วัยวุฒิ, คุณวุติ, ประสบการณ์ และประวัติผลงาน หรือเรียกรวม ๆ ว่า Career path ของบุคคลเติบโตอย่างเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น
Salman Khan คือใคร?
Salman Khan เป็นนักศึกษาอัจฉริยะ ผู้แตกฉานหลากหลายศาสตร์ที่มีสอนในสถาบันการศึกษาและเขานำมันมาสอนต่อแบบเร่งรัดในเว็บไซต์ชื่อ Khan Academy และที่สำคัญเขาสอนฟรี แต่หลังจากสอนฟรีไปเป็นปี ๆ โดยไม่มีรายได้ เขาก็เริ่มจะไปต่อไม่ไหว แต่เพราะสิ่งที่เขาทำมันดีมากจนปล่อยให้ตายไปไม่ได้ ผู้คนที่ติดตามเขาจึงเริ่มบริจาคเงินเพื่อให้แพลทฟอร์มของเขาสามารถดำเนินการต่อได้
ผู้สนับสนุน กลุ่มแรก ๆ คือ Bill Gates แห่ง Microsoft บริจาคเงิน คิดเป็นเงินไทยประมาณ 50 ล้านบาท และตลอดเวลา 7 ปีที่ผ่านมา Bill Gates สนับสนุนเงินให้เขาแล้วมากกว่า 300 ล้านบาทนอกจากนั้น Google ก็ยังเข้ามาร่วมสนับสนุนเงินและให้ใช้ระบบ Google Cloud ในการโฮสต์เว็บไซต์และข้อมูลต่าง ๆ
ปัจจุบัน Salman Khan เติบโตกลายเป็นเจ้าของธุรกิจการศึกษาสมัยใหม่เต็มตัว และเปิดโรงเรียน Off-line ของตัวเองชื่อ Khan Lab School
https://en.wikipedia.org/wiki/Sal_Khan
Salman Khan
Born Salman Khan
October 11, 1976 (age 42)
Metairie, Louisiana, U.S.
Residence Mountain View, California, U.S.
Nationality American
Other names Sal, "The Salmon"
Education Grace King High School
Alma mater
MIT (B.S., M.S.)
Harvard University (M.B.A.)
Occupation Teacher,
Executive Director of Khan Academy,
Founder of Khan Lab School,
Board Member of Aspen Institute
Salary $815,000 (2016)[1]
Spouse(s) Umaima Marvi
Salman “Sal” Khan (born October 11, 1976) is an American educator and entrepreneur who founded Khan Academy, a free online education platform and an organization with which he has produced over 6,500 video lessons teaching a wide spectrum of academic subjects, originally focusing on mathematics and sciences.[2] He is also the founder of Khan Lab School, a brick-and-mortar school associated with Khan Academy.[3]
As of October 2018, the Khan Academy channel on YouTube has more than 4.32 million subscribers and the Khan Academy videos have been viewed more than 1 and a half billion times.[4] In 2012, Time named Salman Khan in its annual list of the 100 most influential people in the world.[5] Forbes magazine featured Khan on its cover, with the story "$1 Trillion Opportunity."[6]
Khan Academy ...
https://www.khanacademy.org/