@ การคิดต้นทุนการผลิต ของการเกษตร ไร่-นา.
1. ที่ดิน คิด ค่าเช่าที่ดิน เช่น ไร่ละ 5,000 ต่อปี.
2. โรงเรือน คิด ค่าเช่า หรือ ค่าก่อสร้าง.
3. ค่าบริหารจัดการ คิด ค่าจ้างพนักงาน รวมทั้ง ค่าบริหารจัดการต่างๆ เช่น ค่าน้ำ-ไฟ ค่าโทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต และอื่นๆ.
4. ยานพาหนะ - ค่าขนส่ง คิด ราคารถยนต์ ค่าน้ำมัน ค่าซ่อมบำรุง.
5. สวัสดิการ คิด ประกันสังคม ค่าอบรม สัมนา เอกสารความรู้ทางการเกษตร การแปรรูปผลผลิต และ การจัดจำหน่ายผลผลิต.
6. แหล่งทุน และ ธนาคาร ต่างๆ คิด ค่าดอกเบี้ยเงินกู้ยืม และค่าใช้จ่ายต่างๆ.
7. ภาคการตลาด คิด ค่าประชาสัมพันธ์ ผลผลิตเกษตรไทย โปรโมท จัดหาลูกค้า.
หาก ชาวนา-ไร่ คิดต้นทุนการผลิตไม่เป็น และ "กระทรวงการเกษตร" ก็ไม่ยอมบอกประชาชน เป็นเหตุให้บริษัทแปรรูปผลผลิตการเกษตร ร่ำรวย แต่ ชาวไร่-นา ยากจน.
สิ่งต่างๆ เหล่านี้ ยังไม่เคยเห็น เจ้านาย คนใด คิดเพื่อ ประชาชนจริงๆ จังๆ.
มาตราฐานการคิดต้นทุนการผลิต ของ เกษตรกรชาวไทย เป็นอย่างไร?
1. ที่ดิน คิด ค่าเช่าที่ดิน เช่น ไร่ละ 5,000 ต่อปี.
2. โรงเรือน คิด ค่าเช่า หรือ ค่าก่อสร้าง.
3. ค่าบริหารจัดการ คิด ค่าจ้างพนักงาน รวมทั้ง ค่าบริหารจัดการต่างๆ เช่น ค่าน้ำ-ไฟ ค่าโทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต และอื่นๆ.
4. ยานพาหนะ - ค่าขนส่ง คิด ราคารถยนต์ ค่าน้ำมัน ค่าซ่อมบำรุง.
5. สวัสดิการ คิด ประกันสังคม ค่าอบรม สัมนา เอกสารความรู้ทางการเกษตร การแปรรูปผลผลิต และ การจัดจำหน่ายผลผลิต.
6. แหล่งทุน และ ธนาคาร ต่างๆ คิด ค่าดอกเบี้ยเงินกู้ยืม และค่าใช้จ่ายต่างๆ.
7. ภาคการตลาด คิด ค่าประชาสัมพันธ์ ผลผลิตเกษตรไทย โปรโมท จัดหาลูกค้า.
หาก ชาวนา-ไร่ คิดต้นทุนการผลิตไม่เป็น และ "กระทรวงการเกษตร" ก็ไม่ยอมบอกประชาชน เป็นเหตุให้บริษัทแปรรูปผลผลิตการเกษตร ร่ำรวย แต่ ชาวไร่-นา ยากจน.
สิ่งต่างๆ เหล่านี้ ยังไม่เคยเห็น เจ้านาย คนใด คิดเพื่อ ประชาชนจริงๆ จังๆ.