เอามาจาก Facebookของคุณ Pun Nanthanee
https://www.facebook.com/nanthanee/posts/10155978715800847
ดราม่าสายการบินแห่งชาติ ^^
ตอนเเรกก็ไม่ได้อะไรนะ เเต่ไหนๆก็ไหนๆละ มีคนอยากรู้เยอะ เขียนซะหน่อย (ประสบการณ์ตรงถึงตรงที่สุด)
1. ปรกติไฟลท์ยาว9-11ชม เราจะใช้นักบิน3คน, ผลัดกันพักทีละ1คน (นักบินจะไปพักที่นอนของลูกเรือ เรียกกว่า crew rest compartment เเต่ถ้าเครื่องลำนั้นไม่มี จะต้องไปพักที่นั่งที่เเบนราบซึ่งสามารถพักผ่อน นอนหลับได้จริง *ซึ่งหมายถึงFirst Class
ถ้าไฟลท์ยาวกว่า12ชม จะใช้นักบิน2ชุด, ผลัดกันบิน ผลัดกันพัก
(เเบบนี้เรียก Hard Block Seat แปลว่าจะไม่สามารถขายที่นั่งได้)
ในกรณีที่deadheadนะคะ สายการบินที่เคยทำงาน ระบุดังนี้ (อาจไม่เหมือนสายการบินเเห่งชาติ)
- ถ้ามีFirst Class กัปตันต้องได้นั่ง First Class คะ. แต่Guaranteed ที่ Business ถ้า operate2class
- ในส่วนของ FO (co pilot) เเละลูกเรือ นั่งเอคโค่คะ ยกเว้นว่ามีที่ว่าง (เหลือจากการขาย) ถึงจะได้นั่ง Business คะ *priority ตามposition ranking
(กรณีนี้เรียก Soft Block seat)
2. กฏว่าใครนั่งอะไรตรงไหนมีระบุมาเรียบร้อยใน Safety Manual ของนักบิน
3. นักบินมีหน้าที่ขับเครื่องบิน ดูเเลความปลอดภัยเเละพาผู้โดยสารเเละลูกเรือ จากจุดหมายไปยังปลายทาง ไม่ได้มีหน้าที่บริการ เพราะงั้นการบอกว่านักบินไม่มีService mind นั้นไม่ถูกต้องนะคะ
หน้าที่เค้าคือ safety of the flightคะ เพราะฉนั้นถ้ามันเกี่ยวกับเรื่อง safety and security เค้าก็ต้องทำตาม standard of procedureนะคะ
เก้าอี้ตัวไหน ก็ต้องงนั่งตามจริงคะ นักบินควรคำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่ตามมาจากการดีเลย์เที่ยวบิน เพราะการเป็น commercial pilot นอกจากจะขับเครื่องดี ปลอดภัยเเล้วก็ต้องช่วยบริษัทคุมค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นคะ เเต่นั่นต้องไม่เเลกด้วยความปลอดภัย (สติปัญญา ความคิด การตัดสินใจของนักบิน)
4. เหตุผลที่ทำไมนักบินไม่ยอมหยวนๆเเล้วนั่งๆไปซะ เพราะว่า
4.1 เกิดเหตุฉุกเฉินขั้นรุนแรง สุดท้ายนักบินที่deadhead จะมีประโยชน์มากในการช่วยแก้ปัญหา (ยกตัวอย่างเช่น นักบินเสียชีวิตบนไฟลท์อะไรเเบบนี้ นักบินที่deadhead ต่อให้ไม่มีlicenseเครื่องโดยตรง เเต่ก็สามารถมาช่วย share work load ใน cockpit ได้คะ)
*นักบินเเละลูกเรือที่นั่งdeadheadไม่อนุญาตให้ดื่มalcoholนะคะ เพราะยังถือว่าอยู่ในหน้าที่ ในเคสemergency ลูกเรือเหล่านี้จะเป็น first resourceคะ
4.2 สมมุติว่าในอนาคต เกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด หลายๆครั้งมักจะมุ่งประเด็นไปที่นักบินก่อนคะ เวลาสืบสวน เค้าจะไปเอาตารางย้อนหลังมาเป็นปี ตรวจหาfatigues หรือสาเหตุการทำงานผิดพลาดของนักบิน ถ้าบริษัทตรวจเจอว่านักบินหยวนไปนั่งที่ที่ไม่ใช่บริษัทจัดให้ อาจโดนเอาตัดสินคาดโทษได้คะ
5. โดยปรกติแล้ว สายการบินที่เคยทำจะ
5.1 ปิดเฟริสคลาสเคบิน ไม่ให้ใครใช้บริการเลยคะ ในกรณีที่เอาเครื่อง3คลาสมาโอเปอเรต2คลาส ป้องกันงานงอก เช่น consistency หรือ unnecessary expensesคะ เก้าอี้เฟริสคลาสนี่เเพงมากนะ
* บริษัทที่เคยบินถึงขนาดออกกฏว่าห้ามผู้โดยสารอื่นเดินผ่าน เเม้กระทั่ง ตอนเข้าเครื่องเเละออกเครื่อง เพราะจะมีคนมานั่งถ่ายรูป จับนู่นจับนี่ ประตูsuite พังได้
5.2 แต่ ตอนที่เคยบิน จำได้ว่า มีอยู่ครั้งนึง เครื่องปลิ้นมาก คือ... overbooked จากเอคโค่มากมายมาเป็น40ที่ ในขณะที่บิสมีบุคไม่ถึง5.
บริษัทตั้งใจ* ตัดสินใจเอาเครื่อง3คลาสมาบิน เพราะจะสามารถเก็บผู้โดยกลับได้ทั้งหมด โดยที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยสุด เเละสามารถสร้าง loyalty ทางความคิดได้
เครื่องสองคลาส คอนฟิคคือ 48/386 เเต่สามคลาสคือ 8/42/376 (ตัวเลขประมาณนี้)
ถ้าเอาสองคลาสมาบิน สิ่งที่บริษัทต้องคิดคือ
1. ต้อง denied ผู้โดยสารในเอคโค่เพราะขายตั๋วเกิน นั่นหมายถึงการชดใช้ค่าเสียหาย ไม่ว่าจะเป็น รร หรือ เที่ยวบินในครั้งหน้า เเละครั้งนี้
2. เอาผู้โดยสารจากเอคโค่ทั้งหมดขึ้น เเล้วอัพเกรดสมาชิกที่นั่งเอคโค่มานั่งบิส กรณีนี้ บริษัทจะเสียค่าpremium products มากขึ้น เเละค่าเเรงลูกเรือในbusiness ถึง4คน
เเต่ถ้าเอาเครื่องสามคลาสมาบิน เเล้วเอาเก้าอี้เฟริส8ตัวมารองรับผู้โดย5คน แล้วเอาทีที่เหลือ 42+376 รับผู้โดยสารทั้งหมด ( configure ขายตั๋วเอคโค่คือ 418 ไม่ใช่376. เเล้วเอาสมาชิกทั้งหมดมานั่งที่เก้าอี้บิสก่อนเเล้วที่เหลือตามความเหมาะสม บริการ อาหารเป็นเอคโค่เหมือนเดิม ต่างเเค่เก้าอี้ หน้าที่ การแต่งตัว business flying สาเหตุคือ
1. ให้สมาชิกก่อน เพราะปรกติพวกนี้มักได้อัพเกรดอยู่แล้ว เวลาไฟลท์เต็ม
2. ให้โอกาสคนที่ไม่ได้เป็นสมาชิก เเต่ดูมี potentialได้ลอง สัมผัสความสะดวกสบาย เผื่อครั้งหน้าจะมีconsideration
ถ้าเลือกออปชั่นนี้ บริษัทไม่มีเสียเลย มีเเต่ได้ 1บาทก็ไม่เสีย)
*กรณีนี้ไม่เหมือนสายการบินเเห่งชาตินะ เพราะสายการบินเรานั้นได้รายได้เพิ่มจากเก้าอี้เอคโค่ที่ขาย overbooked ในขณะที่ไม่เสียอะไรเพิ่มเลย เเถมได้ตัดต้นทุนพนักงานบิสอีก ใช้เเค่2จาก4 เพราะเก้าอี้ลดจาก48เหลือ8 (พนักงานเอคโค่จะมีเรทรายจ้างที่ถูกกว่า) แต่ของสายการบินแห่งชาติ เหมือนว่าเก้าอี้ไม่ได้oversold เพราะงั้น จริงๆ เอาผู้โดยนั่งในเคบินเดิม เรื่องปิดเฟริสคลาสได้สบาย
6. เรื่องของปัญหาseatingนี่ควรเเก้ตั้งแต่issued boarding passแล้ว ไม่ใช่ปล่อยเลยเถิดมาขนาดนี้เพราะgroundต้องรู้นานเเล้ว ว่าจะมีนักบินdeadheadกลับ —-ข้อมูลเรื่องhard blockนี่ปรกติรู้กันก่อนนานมาก ถ้าเป็น schedule route. ถ้าเป็นemergency ก็บวกไปเลย12ชม ก่อนเครื่องออกจาก กทม มีเวลาให้บล็อกเยอะมาก
ผู้โดยสาร ไม่ได้เสียหายอะไรเลยคะ จากเหตุการณ์โดนเปลี่ยนที่นะคะ เพราะเค้าจ่ายสำหรับเก้าอี้บิสสิเนส เค้าได้นั่งบิสสิเนสคะ
(เปลี่ยนจากเฟริสให้ไปนั่งที่เดิม ไม่มีสิทธิ์คอมเพลนอะไรเลยคะ นอกจากเสียความรู้สึก เพราะกราวสตาฟควรวางแผนนี้ให้ดีก่อนอยู่แล้ว ก่อนจะเอาตั๋วให้ผู้โดย *เหมือนการให้ของขวัญเเล้วขอคืนคะ*
เราเข้าใจว่า กฏของสายการบินเเห่งชาติคือ
นักบินกัปตันที่deadhead สมัยก่อนต้องนั่งFC คราวนี้มีการเปลี่ยนแปลงภายหลัง เพราะให้เหตุผลในเรื่องของรายได้ กัปตันเลยต้องนั่งguaranteed business ยกเว้นเสียแต่ว่าที่นั่งFCว่างมีเหลือจากการขาย
คราวนี้มันถึงฟางเส้นสุดท้าย (จากการเดา)
1. กราวไม่ให้เกียรตินักบินอาวุโส เอาที่ๆสิทธิกัปตันควรได้ไปให้ผู้โดยสาร
1.1 ทั้งๆที่กฏระบุว่า ถ้ามีที่เฟริสคลาสซีทว่าง กัปตันควรได้ก่อนที่จะมีการย้ายผู้โดยสาร
1.2 บริการทุกอย่างยังเป็นบิสสิเนส *เเบบนี้ไม่เรียกอัพเกรดนะคะ
1.2.1 การอัพเกรด ต้องใช้เงินจ่ายเพิ่ม
1.2.2 ใช้ไมล์เเลกที่
1.2.3 สายการบินให้สิทธิ์นั่งการนั่งคลาสที่สูงกว่า เพราะcompensate, oversold flight อะไรว่าไป
อันนี้เป็นเเค่เพียง นั่งในที่ที่ดีกว่าควรจะเป็น บริการยังคงตามเดิม
2. วิธีการพูดอธิบายให้ผู้โดยสารฟัง ควรจะเป็นประโยชน์เเละนึกถึงความถูกต้องเป็นหลัก เเละเน้นย้ำถึงความปลอดภัยในเครื่องบิน เเละภาพรวมขององค์กร ไม่ควรระบุถึงบุคคลที่สามที่สี่คะ เเละพูดพาดพึงให้ผู้ใดผู้หนึ่งเสียหายคะ
Mindset Teamplayer ต้องมีคะ
3. ควรเคารพเเละเข้าใจในบทบาทความสำคัญของนักบิน ถูกต้องงานเราคืองานบริการ และrepeating business คือหัวใจหลักของบริษัท เเต่ต้องอยู่บนความถูกต้องเเละเหมาะสมคะ เเล้วจริงๆผู้โดยทั้งหมดก็ไม่มีสิทธิ์ปฏิเสธเลยด้วยซ้ำ เพราะมันไม่ใช่สิ่งที่สายการบินขายให้กับคุณ มันเป็นside benefits ล้วนๆ ผู้โดยสองคนมีสิทธิ์ร้องเรียน เเต่ไม่ใช่ที่ถูกเปลี่ยนที่ เเต่หากเป็นการทำงานโดยไร้เเบบเเผน ส่งผลให้การเดินทางล่าช้า
7. คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจว่าหน้าที่ที่เเท้จริงของนักบินคืออะไร เเค่การตัดสินใจเดียว ชีวิตเปลี่ยนเลยนะ ไม่ใช่คนๆเดียวนะ ทั้งลำคะ ยังไม่รวมคนทางบ้านต่างๆความรับผิดชอบ เเบกไว้บนสองบ่า นักบินต้องมีการสอบซิมทุก6เดือน ในสถานะการณ์จำลองมากมาย เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับทุกเที่ยวบินเเละทุกเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นได้ เเต่ทั้งหมดมันจะไม่มีความหมายเลย ถ้าเค้าพักผ่อนไม่เพียงพอ เเละนั่นคือเหตุผลว่า สายการบินถึงต้องบล้อกที่ให้พักในไฟลท์ที่บินยาว
8. ไฟลท์ยาว 14ชม จาก ปสกตามกฏ
ลูกเรือจะได้นอน/พัก คนละ2.30ชม
ส่วนนักบินคนละ 6.30ชม
ลูกเรือ งานใช้เเรง พักน้อยได้ การตัดสินใจไม่มี หรือมีส่วนกระทบน้อยถึงน้อยมากสำหรับการ run flight
นักบิน นอนน้อย ใจเหม่อลอย จะขับออกรูทไหนต่อไหนได้ ไม่นับengine failure, diversion นู่นนี่นั่น ที่ต้องตัดสินใจภายในเสี้ยววินาที
กัปตัน (คนที่มีสิทธิ์deadhead) นั่ง FC ไม่ใช่ใครก็เป็นได้เนอะ ระดับสายการบินเเห่งชาติ ต้องใช้เวลากัน10-20ปี ต้องมีกันหลายพันชั่วโมง ลองนึกถึงตัวเราวัย30 เดินทาง12ชม ลงมาก็มีงง มีมึน
กัปตันพวกนี้เดินทางกัน เดือนนึงกี่ชม กี่ทวีป ทั้งชีวิตการบินอีก ความเหนื่อยมันสะสมมา
ขนาดให้นอนเตียงดีๆใน รร 5ดาว บางครั้งยังหลับลำบากเลย
เเค่นี้พอเนอะ 555 เห็นใจนักบินบ้าง อาชีพเบื้องหลัง
รอฟังข้อมูลอีกฝั่งบ้างเนอะ นักข่าวก็ตั้งใจชงจริง จั่วหัวมาซะเเบบนั่น
เเก้ตัวให้โซ่ ^^ อนาคตนักบินสายการบินแห่งชาติ 55
การบินไทย TG971 ลองมาฟังข้อมูลอีกด้านจากคนในวงการบินครับ https://www.facebook.com/nanthanee/posts/10155978715800847
https://www.facebook.com/nanthanee/posts/10155978715800847
ดราม่าสายการบินแห่งชาติ ^^
ตอนเเรกก็ไม่ได้อะไรนะ เเต่ไหนๆก็ไหนๆละ มีคนอยากรู้เยอะ เขียนซะหน่อย (ประสบการณ์ตรงถึงตรงที่สุด)
1. ปรกติไฟลท์ยาว9-11ชม เราจะใช้นักบิน3คน, ผลัดกันพักทีละ1คน (นักบินจะไปพักที่นอนของลูกเรือ เรียกกว่า crew rest compartment เเต่ถ้าเครื่องลำนั้นไม่มี จะต้องไปพักที่นั่งที่เเบนราบซึ่งสามารถพักผ่อน นอนหลับได้จริง *ซึ่งหมายถึงFirst Class
ถ้าไฟลท์ยาวกว่า12ชม จะใช้นักบิน2ชุด, ผลัดกันบิน ผลัดกันพัก
(เเบบนี้เรียก Hard Block Seat แปลว่าจะไม่สามารถขายที่นั่งได้)
ในกรณีที่deadheadนะคะ สายการบินที่เคยทำงาน ระบุดังนี้ (อาจไม่เหมือนสายการบินเเห่งชาติ)
- ถ้ามีFirst Class กัปตันต้องได้นั่ง First Class คะ. แต่Guaranteed ที่ Business ถ้า operate2class
- ในส่วนของ FO (co pilot) เเละลูกเรือ นั่งเอคโค่คะ ยกเว้นว่ามีที่ว่าง (เหลือจากการขาย) ถึงจะได้นั่ง Business คะ *priority ตามposition ranking
(กรณีนี้เรียก Soft Block seat)
2. กฏว่าใครนั่งอะไรตรงไหนมีระบุมาเรียบร้อยใน Safety Manual ของนักบิน
3. นักบินมีหน้าที่ขับเครื่องบิน ดูเเลความปลอดภัยเเละพาผู้โดยสารเเละลูกเรือ จากจุดหมายไปยังปลายทาง ไม่ได้มีหน้าที่บริการ เพราะงั้นการบอกว่านักบินไม่มีService mind นั้นไม่ถูกต้องนะคะ
หน้าที่เค้าคือ safety of the flightคะ เพราะฉนั้นถ้ามันเกี่ยวกับเรื่อง safety and security เค้าก็ต้องทำตาม standard of procedureนะคะ
เก้าอี้ตัวไหน ก็ต้องงนั่งตามจริงคะ นักบินควรคำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่ตามมาจากการดีเลย์เที่ยวบิน เพราะการเป็น commercial pilot นอกจากจะขับเครื่องดี ปลอดภัยเเล้วก็ต้องช่วยบริษัทคุมค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นคะ เเต่นั่นต้องไม่เเลกด้วยความปลอดภัย (สติปัญญา ความคิด การตัดสินใจของนักบิน)
4. เหตุผลที่ทำไมนักบินไม่ยอมหยวนๆเเล้วนั่งๆไปซะ เพราะว่า
4.1 เกิดเหตุฉุกเฉินขั้นรุนแรง สุดท้ายนักบินที่deadhead จะมีประโยชน์มากในการช่วยแก้ปัญหา (ยกตัวอย่างเช่น นักบินเสียชีวิตบนไฟลท์อะไรเเบบนี้ นักบินที่deadhead ต่อให้ไม่มีlicenseเครื่องโดยตรง เเต่ก็สามารถมาช่วย share work load ใน cockpit ได้คะ)
*นักบินเเละลูกเรือที่นั่งdeadheadไม่อนุญาตให้ดื่มalcoholนะคะ เพราะยังถือว่าอยู่ในหน้าที่ ในเคสemergency ลูกเรือเหล่านี้จะเป็น first resourceคะ
4.2 สมมุติว่าในอนาคต เกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด หลายๆครั้งมักจะมุ่งประเด็นไปที่นักบินก่อนคะ เวลาสืบสวน เค้าจะไปเอาตารางย้อนหลังมาเป็นปี ตรวจหาfatigues หรือสาเหตุการทำงานผิดพลาดของนักบิน ถ้าบริษัทตรวจเจอว่านักบินหยวนไปนั่งที่ที่ไม่ใช่บริษัทจัดให้ อาจโดนเอาตัดสินคาดโทษได้คะ
5. โดยปรกติแล้ว สายการบินที่เคยทำจะ
5.1 ปิดเฟริสคลาสเคบิน ไม่ให้ใครใช้บริการเลยคะ ในกรณีที่เอาเครื่อง3คลาสมาโอเปอเรต2คลาส ป้องกันงานงอก เช่น consistency หรือ unnecessary expensesคะ เก้าอี้เฟริสคลาสนี่เเพงมากนะ
* บริษัทที่เคยบินถึงขนาดออกกฏว่าห้ามผู้โดยสารอื่นเดินผ่าน เเม้กระทั่ง ตอนเข้าเครื่องเเละออกเครื่อง เพราะจะมีคนมานั่งถ่ายรูป จับนู่นจับนี่ ประตูsuite พังได้
5.2 แต่ ตอนที่เคยบิน จำได้ว่า มีอยู่ครั้งนึง เครื่องปลิ้นมาก คือ... overbooked จากเอคโค่มากมายมาเป็น40ที่ ในขณะที่บิสมีบุคไม่ถึง5.
บริษัทตั้งใจ* ตัดสินใจเอาเครื่อง3คลาสมาบิน เพราะจะสามารถเก็บผู้โดยกลับได้ทั้งหมด โดยที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยสุด เเละสามารถสร้าง loyalty ทางความคิดได้
เครื่องสองคลาส คอนฟิคคือ 48/386 เเต่สามคลาสคือ 8/42/376 (ตัวเลขประมาณนี้)
ถ้าเอาสองคลาสมาบิน สิ่งที่บริษัทต้องคิดคือ
1. ต้อง denied ผู้โดยสารในเอคโค่เพราะขายตั๋วเกิน นั่นหมายถึงการชดใช้ค่าเสียหาย ไม่ว่าจะเป็น รร หรือ เที่ยวบินในครั้งหน้า เเละครั้งนี้
2. เอาผู้โดยสารจากเอคโค่ทั้งหมดขึ้น เเล้วอัพเกรดสมาชิกที่นั่งเอคโค่มานั่งบิส กรณีนี้ บริษัทจะเสียค่าpremium products มากขึ้น เเละค่าเเรงลูกเรือในbusiness ถึง4คน
เเต่ถ้าเอาเครื่องสามคลาสมาบิน เเล้วเอาเก้าอี้เฟริส8ตัวมารองรับผู้โดย5คน แล้วเอาทีที่เหลือ 42+376 รับผู้โดยสารทั้งหมด ( configure ขายตั๋วเอคโค่คือ 418 ไม่ใช่376. เเล้วเอาสมาชิกทั้งหมดมานั่งที่เก้าอี้บิสก่อนเเล้วที่เหลือตามความเหมาะสม บริการ อาหารเป็นเอคโค่เหมือนเดิม ต่างเเค่เก้าอี้ หน้าที่ การแต่งตัว business flying สาเหตุคือ
1. ให้สมาชิกก่อน เพราะปรกติพวกนี้มักได้อัพเกรดอยู่แล้ว เวลาไฟลท์เต็ม
2. ให้โอกาสคนที่ไม่ได้เป็นสมาชิก เเต่ดูมี potentialได้ลอง สัมผัสความสะดวกสบาย เผื่อครั้งหน้าจะมีconsideration
ถ้าเลือกออปชั่นนี้ บริษัทไม่มีเสียเลย มีเเต่ได้ 1บาทก็ไม่เสีย)
*กรณีนี้ไม่เหมือนสายการบินเเห่งชาตินะ เพราะสายการบินเรานั้นได้รายได้เพิ่มจากเก้าอี้เอคโค่ที่ขาย overbooked ในขณะที่ไม่เสียอะไรเพิ่มเลย เเถมได้ตัดต้นทุนพนักงานบิสอีก ใช้เเค่2จาก4 เพราะเก้าอี้ลดจาก48เหลือ8 (พนักงานเอคโค่จะมีเรทรายจ้างที่ถูกกว่า) แต่ของสายการบินแห่งชาติ เหมือนว่าเก้าอี้ไม่ได้oversold เพราะงั้น จริงๆ เอาผู้โดยนั่งในเคบินเดิม เรื่องปิดเฟริสคลาสได้สบาย
6. เรื่องของปัญหาseatingนี่ควรเเก้ตั้งแต่issued boarding passแล้ว ไม่ใช่ปล่อยเลยเถิดมาขนาดนี้เพราะgroundต้องรู้นานเเล้ว ว่าจะมีนักบินdeadheadกลับ —-ข้อมูลเรื่องhard blockนี่ปรกติรู้กันก่อนนานมาก ถ้าเป็น schedule route. ถ้าเป็นemergency ก็บวกไปเลย12ชม ก่อนเครื่องออกจาก กทม มีเวลาให้บล็อกเยอะมาก
ผู้โดยสาร ไม่ได้เสียหายอะไรเลยคะ จากเหตุการณ์โดนเปลี่ยนที่นะคะ เพราะเค้าจ่ายสำหรับเก้าอี้บิสสิเนส เค้าได้นั่งบิสสิเนสคะ
(เปลี่ยนจากเฟริสให้ไปนั่งที่เดิม ไม่มีสิทธิ์คอมเพลนอะไรเลยคะ นอกจากเสียความรู้สึก เพราะกราวสตาฟควรวางแผนนี้ให้ดีก่อนอยู่แล้ว ก่อนจะเอาตั๋วให้ผู้โดย *เหมือนการให้ของขวัญเเล้วขอคืนคะ*
เราเข้าใจว่า กฏของสายการบินเเห่งชาติคือ
นักบินกัปตันที่deadhead สมัยก่อนต้องนั่งFC คราวนี้มีการเปลี่ยนแปลงภายหลัง เพราะให้เหตุผลในเรื่องของรายได้ กัปตันเลยต้องนั่งguaranteed business ยกเว้นเสียแต่ว่าที่นั่งFCว่างมีเหลือจากการขาย
คราวนี้มันถึงฟางเส้นสุดท้าย (จากการเดา)
1. กราวไม่ให้เกียรตินักบินอาวุโส เอาที่ๆสิทธิกัปตันควรได้ไปให้ผู้โดยสาร
1.1 ทั้งๆที่กฏระบุว่า ถ้ามีที่เฟริสคลาสซีทว่าง กัปตันควรได้ก่อนที่จะมีการย้ายผู้โดยสาร
1.2 บริการทุกอย่างยังเป็นบิสสิเนส *เเบบนี้ไม่เรียกอัพเกรดนะคะ
1.2.1 การอัพเกรด ต้องใช้เงินจ่ายเพิ่ม
1.2.2 ใช้ไมล์เเลกที่
1.2.3 สายการบินให้สิทธิ์นั่งการนั่งคลาสที่สูงกว่า เพราะcompensate, oversold flight อะไรว่าไป
อันนี้เป็นเเค่เพียง นั่งในที่ที่ดีกว่าควรจะเป็น บริการยังคงตามเดิม
2. วิธีการพูดอธิบายให้ผู้โดยสารฟัง ควรจะเป็นประโยชน์เเละนึกถึงความถูกต้องเป็นหลัก เเละเน้นย้ำถึงความปลอดภัยในเครื่องบิน เเละภาพรวมขององค์กร ไม่ควรระบุถึงบุคคลที่สามที่สี่คะ เเละพูดพาดพึงให้ผู้ใดผู้หนึ่งเสียหายคะ
Mindset Teamplayer ต้องมีคะ
3. ควรเคารพเเละเข้าใจในบทบาทความสำคัญของนักบิน ถูกต้องงานเราคืองานบริการ และrepeating business คือหัวใจหลักของบริษัท เเต่ต้องอยู่บนความถูกต้องเเละเหมาะสมคะ เเล้วจริงๆผู้โดยทั้งหมดก็ไม่มีสิทธิ์ปฏิเสธเลยด้วยซ้ำ เพราะมันไม่ใช่สิ่งที่สายการบินขายให้กับคุณ มันเป็นside benefits ล้วนๆ ผู้โดยสองคนมีสิทธิ์ร้องเรียน เเต่ไม่ใช่ที่ถูกเปลี่ยนที่ เเต่หากเป็นการทำงานโดยไร้เเบบเเผน ส่งผลให้การเดินทางล่าช้า
7. คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจว่าหน้าที่ที่เเท้จริงของนักบินคืออะไร เเค่การตัดสินใจเดียว ชีวิตเปลี่ยนเลยนะ ไม่ใช่คนๆเดียวนะ ทั้งลำคะ ยังไม่รวมคนทางบ้านต่างๆความรับผิดชอบ เเบกไว้บนสองบ่า นักบินต้องมีการสอบซิมทุก6เดือน ในสถานะการณ์จำลองมากมาย เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับทุกเที่ยวบินเเละทุกเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นได้ เเต่ทั้งหมดมันจะไม่มีความหมายเลย ถ้าเค้าพักผ่อนไม่เพียงพอ เเละนั่นคือเหตุผลว่า สายการบินถึงต้องบล้อกที่ให้พักในไฟลท์ที่บินยาว
8. ไฟลท์ยาว 14ชม จาก ปสกตามกฏ
ลูกเรือจะได้นอน/พัก คนละ2.30ชม
ส่วนนักบินคนละ 6.30ชม
ลูกเรือ งานใช้เเรง พักน้อยได้ การตัดสินใจไม่มี หรือมีส่วนกระทบน้อยถึงน้อยมากสำหรับการ run flight
นักบิน นอนน้อย ใจเหม่อลอย จะขับออกรูทไหนต่อไหนได้ ไม่นับengine failure, diversion นู่นนี่นั่น ที่ต้องตัดสินใจภายในเสี้ยววินาที
กัปตัน (คนที่มีสิทธิ์deadhead) นั่ง FC ไม่ใช่ใครก็เป็นได้เนอะ ระดับสายการบินเเห่งชาติ ต้องใช้เวลากัน10-20ปี ต้องมีกันหลายพันชั่วโมง ลองนึกถึงตัวเราวัย30 เดินทาง12ชม ลงมาก็มีงง มีมึน
กัปตันพวกนี้เดินทางกัน เดือนนึงกี่ชม กี่ทวีป ทั้งชีวิตการบินอีก ความเหนื่อยมันสะสมมา
ขนาดให้นอนเตียงดีๆใน รร 5ดาว บางครั้งยังหลับลำบากเลย
เเค่นี้พอเนอะ 555 เห็นใจนักบินบ้าง อาชีพเบื้องหลัง
รอฟังข้อมูลอีกฝั่งบ้างเนอะ นักข่าวก็ตั้งใจชงจริง จั่วหัวมาซะเเบบนั่น
เเก้ตัวให้โซ่ ^^ อนาคตนักบินสายการบินแห่งชาติ 55