** ตัวอย่างคำลหุ ๓, ๔, ๕ และ ๖ พยางค์ ในความหมายเดียวกัน **

<<< ตัวอย่างคำลหุ ๓, ๔, ๕, ๖ พยางค์ในความหมายเดียวกัน >>>

** ใจ **

กมละ
ฤทยะ
หทยะ               หฤทยะ
สุมน
ศมน
ภระกมล                               ภระกมละ

** พระเจ้าแผ่นดิน **

ภุธระ       
อธิปะ
นฤบดี
นฤบดินทร์
นริศะ
ภูมิบดี
จักรินะ
                    บพิตะระ
                    มหิธระ
                    ธรณิศะ
                   มนุษยเทพ
                   มหิดละ
                   อดิศระ
                                       มหิศวร
                                       อดิศวร
                                       ธรณิศร
                                       ธรณินทร์
                                       ภูมินทร์
                                                                   ธรณินทร
                                                                  นฤบดินทร์

** คำเปรียบเทียบ **

ประดุจะ
อุปมะ
ครุวนา

** พระพุทธเจ้า **

พระชินวร
พระชินสีห์
พระนรสีห์
พระทศญาณ
พระทศพล
                           พระสมณโคดม
                           พระสุคต
                           พระบรมครู
                           พระพิชิตมาร
                                                       พระชินวร
                                                       พระทศพละ
                                                                                พระบรมคุรุ

** นักปราชญ์ **

วิทุระ
สุธิระ
ปริญญ์
                           มุนินทร์      

** ผู้หญิง **

กนิษฐ์
กนิษฐา
ขนิษฐา
ดรุณิ
สมร
ภคินิ
ยุพินะ
วรดนู
วิมล
สุนทริอนงค์
รมณิ
                     นฤมล       
                     นิรมล
                     อิสตริ

** ดอกไม้ **

บุษบะ
บุษปะ
สุมน
ปสพ
สุมะลิ

** ท้องฟ้า **

ทิฆมพร
อนิลบถ
เวหะยส
                       คคนมพร
                       นภดล
                       นภมณฑล
                       นภลย
                                               ทิฆมพร
                                               อนิลบถ

** น้ำ **

มหรณพ
ยมนะ
รหทะ
สมุทร์
สริต
สลิล
อุทก
โอฆชล
                      ชลธิศะ
                      สมุทร
                                         อุทกชระ

** พระจันทร์ **
     
รชนิกร
ศศิน
มนทกานติ
สิตลรัศมิ์
ศศิวิมล
ศศิประภา
                     จันทรมณฑล
                     ศศิธร
                     ศศิมณฑล
                                         ศศพินทุ
                                                             ศศิมณฑล

** พระอาทิตย์ **

สุริยะ
อุษณรัศมี
อุษณรูจี
อุษณกร   
                ทินกร
                อุษณรุจี
                                 อุษณรศมี
                                 อุษณกร

** เมือง **

สรุก
นคร
              บุรินทร์
                                 นครินทร์
                                 บุรินทร
                                                     นครินทร

** แผ่นดิน **

ธริษตรี
พสุมดี
พิภพ
ภูดล
วสุธะ  ( พสุธะ )
วสุมดี
อจละ
อุรพิ
กษิดิ
อวนิ
                พสุนธรา
                วสุมดิ   ( พสุมดิ )
                มหิดล

** นก **

สกุณ
สกุณิ
วิหค  ( พิหค )
ทวิช

:: หมายเหตุ :: เนื่องจากเป็นคำยืมจากภาษาอื่น เช่น บาลี , สันสกฤต เป็นต้น จึงสามารถนำมาปรุงแต่งดัดแปลงให้อ่านทีละพยางค์ได้
                 ขึ้นกับบริบทของคำและรูปแบบบังคับลหุของแต่ละฉันท์นั้นๆ
                 ยกตัวอย่างเช่น   "พสุนธรา" โดยปกติจะอ่านว่า พะ-สุน-ทะ-รา  แต่ในฉันท์บางกรณี ก็อ่านว่า พะ-สุ-นะ-ทะ- รา ทั้งนี้เพราะต้องการ
                 คำลหุ ๔ พยางค์ในวลีนั้น ,
                 "พิหค" ปกติอ่านว่า พิ-หก  อนุโลมอ่านได้ว่า พิ-หะ-คะ ในกรณีที่ต้องการลหุ ๓ พยางค์
                 หรืออย่าง "ศศิมณฑล" โดยปกติอ่านว่า สะ-สิ-มน-ทน แต่อนุโลมให้อ่านได้ว่า สะ-สิ-มะ-นะ-ทะ-ละ ในบริบท
                ที่ต้องการลหุ ๖ พยางค์ในวลีฉันท์นั้นๆ  เป็นต้น.
                 

                ....หวังว่าคงเป็นประโยชน์อยู่บ้างมิมากก็น้อย โดยเฉพาะมิตรรักนักฉันท์ทั้งหลาย
                ขอขอบคุณที่ให้เกียรติเข้ามารับชมและทักทาย...
                สวัสดีครับ. อมยิ้ม17
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่