ให้นับลูกชายเลี้ยงพ่อแม่ยามแก่เฒ่าหารด้วยจำนวนลูกชายทั้งหมดของกลุ่ม ตัวอย่าง
นั่นคือ โอกาสที่ลูกชายจะเลี้ยงพ่อแม่ยามแก่เฒ่า P(ลูกชายเลี้ยง)
นับลูกสาวเลี้ยงพ่อแม่ยามแก่เฒ่าหารด้วยจำนวนลูกสาวทั้งหมดของประเทศ
นั่นคือ โอกาสที่ลูกสาวจะเลี้ยงพ่อแม่ยามแก่เฒ่า P(ลูกสาวเลี้ยง)
สมมุติมีลูกสามคน ช,ช,ญ
โอกาสที่จะไม่มีลูกสักคนเลี้ยงคือ
P(ช ไม่เลี้ยง,ช. ไม่เลี้ยง,ญ. ไม่เลี้ยง)=
P(ชายคนโตไม่เลี้ยง|ชายคนกลางไม่เลี้ยง,ญ คนเล็กไม่เลี้ยง)P(ชายคนกลางไม่เลี้ยง|ญคนเล็กไม้เลี้ยง)P(ญคนเล็กไม่เลี้ยง)
ดังนั้น โอกาสจะมีใครสักคนเลี้ยงคือ
1-P(ชายคนโตไม่เลี้ยง|ชายคนกลางไม่เลี้ยง,ญ คนเล็กไม่เลี้ยง)P(ชายคนกลางไม่เลี้ยง|ญคนเล็กไม้เลี้ยง)P(ญคนเล็กไม่เลี้ยง)
จากด้านบน สรุปว่า ยิ่งมีลูก ยิ่งมีโอกาสได้มีใครสักคนรับเลี้ยงยามชรามากๆ.
ถ้าไม่มีลูก โอกาสมีลูกมาดูแล=0
พิสูจน์คณิตศาสตร์ว่าโอกาสที่จะมีลูกบางคนมาดูแลยามแก่เพิ่มขึ้นถ้ามีลูกอีกคน
นั่นคือ โอกาสที่ลูกชายจะเลี้ยงพ่อแม่ยามแก่เฒ่า P(ลูกชายเลี้ยง)
นับลูกสาวเลี้ยงพ่อแม่ยามแก่เฒ่าหารด้วยจำนวนลูกสาวทั้งหมดของประเทศ
นั่นคือ โอกาสที่ลูกสาวจะเลี้ยงพ่อแม่ยามแก่เฒ่า P(ลูกสาวเลี้ยง)
สมมุติมีลูกสามคน ช,ช,ญ
โอกาสที่จะไม่มีลูกสักคนเลี้ยงคือ
P(ช ไม่เลี้ยง,ช. ไม่เลี้ยง,ญ. ไม่เลี้ยง)=
P(ชายคนโตไม่เลี้ยง|ชายคนกลางไม่เลี้ยง,ญ คนเล็กไม่เลี้ยง)P(ชายคนกลางไม่เลี้ยง|ญคนเล็กไม้เลี้ยง)P(ญคนเล็กไม่เลี้ยง)
ดังนั้น โอกาสจะมีใครสักคนเลี้ยงคือ
1-P(ชายคนโตไม่เลี้ยง|ชายคนกลางไม่เลี้ยง,ญ คนเล็กไม่เลี้ยง)P(ชายคนกลางไม่เลี้ยง|ญคนเล็กไม้เลี้ยง)P(ญคนเล็กไม่เลี้ยง)
จากด้านบน สรุปว่า ยิ่งมีลูก ยิ่งมีโอกาสได้มีใครสักคนรับเลี้ยงยามชรามากๆ.
ถ้าไม่มีลูก โอกาสมีลูกมาดูแล=0