Social network อย่าง facebook มีเครื่องมือต่างๆและมีรูปแบบการทำกิจกรรมต่างๆที่อาจช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีพลังมากขึ้นและไม่อยู่โดดเดี่ยว สอดคล้องกับนักวิจัยหลายคน
“จากการศึกษาการใช้ facebook นั้น ผู้สูงอายุที่โพสต์เรื่องราวส่วนตัวบน social network นั้น ทำให้พวกเขารู้สึกว่า พวกเขากำลังเข้าร่วมกับสังคมอยู่ และยิ่งมีการปรับแต่งโปรไฟล์ของพวกเขาด้วยแล้ว ก็ยิ่งทำให้พวกเขาควบคุมความรู้สึกของตัวเองได้” กล่าวโดย S.Shyam Sundar โดยเขาได้กล่าวเพิ่มเติมว่า งานวิจัยชี้ว่าการใช้สื่อสังคมไม่ได้เป็นเรื่องดีหรือแย่ไปทั้งหมด แต่ผู้ใช้มีทางเลือกหลายทางในการนำไปใช้ให้เข้ากับตัวเอง
“ผู้คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่า facebook มีทั้งด้านดีและแย่ แต่เมื่อมาศึกษาดีๆแล้วจะเห็นว่า ผู้คนใช้ facebook อย่างไรกันบ้าง และนี่ก็ถือเป็นประเด็นสำคัญ” กล่าวโดย Sundar “ด้วยเหตุนี้พูดง่ายๆก็คือ สื่อสังคมโดยตัวมันเองไม่ได้ดีหรือแย่ไปเสียทั้งหมด แต่ขึ้นอยู่กับตัวผู้ใช้แต่ละคน”
สำหรับผู้สูงอายุที่ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหวร่างกาย ทั้ง facebook กับ social network ที่คล้ายๆกันก็สามารถช่วยขจัดความคลายเหงาไปได้ และทำให้พวกเขารู้สึกว่า พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของสังคม สอดคล้องกับนักวิจัยหลายคนที่ได้รายงานเรื่องนี้ในนิตยสาร New Media & Society
“นี่ถือเป็นเรื่องสำคัญมาก โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่อาจเจอกับความสูงวัย เนื่องจากพวกเขามีขีดความสามารถในการเข้าสังคมที่จำกัด” กล่าวโดย Sundar “และในช่วง 10 ปีก่อนหรือมากกว่านั้น พวกเราจะต้องกลับมาดูว่า social network สามารถพัฒนาคุณชีวิตการเข้าสังคมของผู้สูงอายุหรือลดความคลายเหงาของพวกเขาได้อย่างไรบ้าง โดยในรายละเอียดก็กล่าวได้ว่า การที่คุณใช้ facebook ช่วยให้คุณมีความอิ่มเอมใจเหมือนกับเป็นความต้องการในการทำกิจกรรมนั้นให้เต็มอิ่ม พร้อมกับทำปฎิสัมพันธ์กับคนอื่นๆ จึงยิ่งทำให้เกิดความรักใคร่กลมเกลียวและสร้างสังคมขึ้นมามากขึ้น”
เช่นกันนักวิจัยก็ได้ชี้ว่า การคอมเม้นต์หรือการตอบกลับโพสต์ของผู้ใช้สูงอายุก็ก่อให้เกิดความรู้สึกทำปฎิสัมพันธ์ทางสังคมขึ้นมา
ทางด้าน Eun Hwa Jung ซึ่งทำงานร่วมกับ Sundar ก็กล่าวว่า “ผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะใช้สื่อสังคมมากขึ้น โดยทั่วไปแล้วจำนวนผู้ใช้ facebook มีการเติบโตมากขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัยที่ว่า ชาวอเมริกันอายุ 65 ปีกว่า 34 เปอร์เซ็นต์ใช้ social network ในปี 2017 และเพิ่มมากขึ้น 7 เปอร์เซ็นต์ในช่วงปี 2016 โดย facebook ถือเป็น social network ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดของผู้ใช้สูงอายุ” นักวิจัยกล่าวเพิ่มเติม
การแพร่กระจายของผู้ใช้ facebook ในส่วนที่เป็นผู้สูงอายุนั้น จะต้องมีผู้ออกแบบหลายคนสร้างเทคโนโลยีให้เหมาะกับพวกเขา Jung กล่าว
“การปฎิสัมพันธ์กันทางออนไลน์ระหว่างตัวบุคคลหรืออายุไหนก็สามารถพัฒนามากขึ้นได้” เธอกล่าวเพิ่มเติม
สอดคล้องกับ Sundar ที่ว่า “ผู้พัฒนา Social Media Network ควรที่จะทำการวิเคราะห์กลุ่มผู้สูงอายุมากขึ้น ตัวอย่างเช่น พวกเขาควรที่จะสร้างรูปแบบการใช้ให้เข้ากับผู้สูงอายุพร้อมกับปกป้องความเป็นส่วนตัวของพวกเขา โดยรูปแบบการใช้ก็จะต้องทำให้ผู้สูงอายุมีแรงจูงใจและสามารถอ่านข้อความได้ชัดเจนมากขึ้นเพื่อที่จะทำการปฎิสัมพันธ์ได้ดียิ่งขึ้น”
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลนั้น นักวิจัยได้ใช้ผู้เข้าร่วมกว่า 202 คน โดย 79.7 เป็นผู้หญิงและอีก 20.3 เป็นผู้ชาย โดยพวกเขามีอายุ 60 ปีและใช้ facebook มาแล้วอย่างน้อย 1 ปี โดยผู้เข้าร่วมมาจากตัวแทนสถาบันสงเคราะห์กว่า 27 แห่งทั่วประเทศอเมริกา
นักวิจัยได้ทำการแอดผู้เข้าร่วมเป็นเพื่อนใน facebook เพื่อที่จะใช้เวลาในการเฝ้าติดตามพวกเขาโดยใช้เครื่องมือต่างๆในช่วงปีที่ผ่านมา เช่นกันผู้เข้าร่วมก็ได้ทำแบบสอบถามในความอิ่มเอมใจในการใช้ facebook
งานวิจัยในอนาคตอาจต้องกลับไปดูปฎิสัมพันธ์เชิงบวกบน facebook ที่ช่วยให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกดีมากขึ้น Sundar กล่าว เช่นกันนักวิจัยหลายคนชี้ว่า ผลกระทบต่อการใช้ social media รูปแบบอื่นๆเช่น twitter กับ pinterest รวมไปถึงมือถือกับอุปกรณ์ชนิดอื่นๆนั้น ก็จะต้องมาวิเคราะห์ตรวจสอบด้วยเช่นกัน
ผู้แปล : Mr.lawrence10
ที่มา : sciencedaily.com
การโพสต์ การคอมเม้นต์และการปรับแต่งบน facebook ช่วยให้ผู้สูงอายุมีพลังมากขึ้น
Social network อย่าง facebook มีเครื่องมือต่างๆและมีรูปแบบการทำกิจกรรมต่างๆที่อาจช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีพลังมากขึ้นและไม่อยู่โดดเดี่ยว สอดคล้องกับนักวิจัยหลายคน
“จากการศึกษาการใช้ facebook นั้น ผู้สูงอายุที่โพสต์เรื่องราวส่วนตัวบน social network นั้น ทำให้พวกเขารู้สึกว่า พวกเขากำลังเข้าร่วมกับสังคมอยู่ และยิ่งมีการปรับแต่งโปรไฟล์ของพวกเขาด้วยแล้ว ก็ยิ่งทำให้พวกเขาควบคุมความรู้สึกของตัวเองได้” กล่าวโดย S.Shyam Sundar โดยเขาได้กล่าวเพิ่มเติมว่า งานวิจัยชี้ว่าการใช้สื่อสังคมไม่ได้เป็นเรื่องดีหรือแย่ไปทั้งหมด แต่ผู้ใช้มีทางเลือกหลายทางในการนำไปใช้ให้เข้ากับตัวเอง
“ผู้คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่า facebook มีทั้งด้านดีและแย่ แต่เมื่อมาศึกษาดีๆแล้วจะเห็นว่า ผู้คนใช้ facebook อย่างไรกันบ้าง และนี่ก็ถือเป็นประเด็นสำคัญ” กล่าวโดย Sundar “ด้วยเหตุนี้พูดง่ายๆก็คือ สื่อสังคมโดยตัวมันเองไม่ได้ดีหรือแย่ไปเสียทั้งหมด แต่ขึ้นอยู่กับตัวผู้ใช้แต่ละคน”
สำหรับผู้สูงอายุที่ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหวร่างกาย ทั้ง facebook กับ social network ที่คล้ายๆกันก็สามารถช่วยขจัดความคลายเหงาไปได้ และทำให้พวกเขารู้สึกว่า พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของสังคม สอดคล้องกับนักวิจัยหลายคนที่ได้รายงานเรื่องนี้ในนิตยสาร New Media & Society
“นี่ถือเป็นเรื่องสำคัญมาก โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่อาจเจอกับความสูงวัย เนื่องจากพวกเขามีขีดความสามารถในการเข้าสังคมที่จำกัด” กล่าวโดย Sundar “และในช่วง 10 ปีก่อนหรือมากกว่านั้น พวกเราจะต้องกลับมาดูว่า social network สามารถพัฒนาคุณชีวิตการเข้าสังคมของผู้สูงอายุหรือลดความคลายเหงาของพวกเขาได้อย่างไรบ้าง โดยในรายละเอียดก็กล่าวได้ว่า การที่คุณใช้ facebook ช่วยให้คุณมีความอิ่มเอมใจเหมือนกับเป็นความต้องการในการทำกิจกรรมนั้นให้เต็มอิ่ม พร้อมกับทำปฎิสัมพันธ์กับคนอื่นๆ จึงยิ่งทำให้เกิดความรักใคร่กลมเกลียวและสร้างสังคมขึ้นมามากขึ้น”
เช่นกันนักวิจัยก็ได้ชี้ว่า การคอมเม้นต์หรือการตอบกลับโพสต์ของผู้ใช้สูงอายุก็ก่อให้เกิดความรู้สึกทำปฎิสัมพันธ์ทางสังคมขึ้นมา
ทางด้าน Eun Hwa Jung ซึ่งทำงานร่วมกับ Sundar ก็กล่าวว่า “ผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะใช้สื่อสังคมมากขึ้น โดยทั่วไปแล้วจำนวนผู้ใช้ facebook มีการเติบโตมากขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัยที่ว่า ชาวอเมริกันอายุ 65 ปีกว่า 34 เปอร์เซ็นต์ใช้ social network ในปี 2017 และเพิ่มมากขึ้น 7 เปอร์เซ็นต์ในช่วงปี 2016 โดย facebook ถือเป็น social network ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดของผู้ใช้สูงอายุ” นักวิจัยกล่าวเพิ่มเติม
การแพร่กระจายของผู้ใช้ facebook ในส่วนที่เป็นผู้สูงอายุนั้น จะต้องมีผู้ออกแบบหลายคนสร้างเทคโนโลยีให้เหมาะกับพวกเขา Jung กล่าว
“การปฎิสัมพันธ์กันทางออนไลน์ระหว่างตัวบุคคลหรืออายุไหนก็สามารถพัฒนามากขึ้นได้” เธอกล่าวเพิ่มเติม
สอดคล้องกับ Sundar ที่ว่า “ผู้พัฒนา Social Media Network ควรที่จะทำการวิเคราะห์กลุ่มผู้สูงอายุมากขึ้น ตัวอย่างเช่น พวกเขาควรที่จะสร้างรูปแบบการใช้ให้เข้ากับผู้สูงอายุพร้อมกับปกป้องความเป็นส่วนตัวของพวกเขา โดยรูปแบบการใช้ก็จะต้องทำให้ผู้สูงอายุมีแรงจูงใจและสามารถอ่านข้อความได้ชัดเจนมากขึ้นเพื่อที่จะทำการปฎิสัมพันธ์ได้ดียิ่งขึ้น”
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลนั้น นักวิจัยได้ใช้ผู้เข้าร่วมกว่า 202 คน โดย 79.7 เป็นผู้หญิงและอีก 20.3 เป็นผู้ชาย โดยพวกเขามีอายุ 60 ปีและใช้ facebook มาแล้วอย่างน้อย 1 ปี โดยผู้เข้าร่วมมาจากตัวแทนสถาบันสงเคราะห์กว่า 27 แห่งทั่วประเทศอเมริกา
นักวิจัยได้ทำการแอดผู้เข้าร่วมเป็นเพื่อนใน facebook เพื่อที่จะใช้เวลาในการเฝ้าติดตามพวกเขาโดยใช้เครื่องมือต่างๆในช่วงปีที่ผ่านมา เช่นกันผู้เข้าร่วมก็ได้ทำแบบสอบถามในความอิ่มเอมใจในการใช้ facebook
งานวิจัยในอนาคตอาจต้องกลับไปดูปฎิสัมพันธ์เชิงบวกบน facebook ที่ช่วยให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกดีมากขึ้น Sundar กล่าว เช่นกันนักวิจัยหลายคนชี้ว่า ผลกระทบต่อการใช้ social media รูปแบบอื่นๆเช่น twitter กับ pinterest รวมไปถึงมือถือกับอุปกรณ์ชนิดอื่นๆนั้น ก็จะต้องมาวิเคราะห์ตรวจสอบด้วยเช่นกัน
ผู้แปล : Mr.lawrence10
ที่มา : sciencedaily.com