คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
รังสีแคโทดเป็นอิเล็กตรอนจากโลหะที่ทำขั้วแคโทดหรือจากแก๊สในหลอดครับ
เป็น Electron จากขั้วโลหะครับ โดย electron จะหลุดจากขั้วโลหะ Cathode
วิ่งข้ามไปยังขั้ว Anode ครับ
ถ้าเป็นอิเล็กตรอนจากขั้วโลหะแล้วแก๊สที่ใส่ในหลอดมีไว้ทำอะไรครับ
แก้สเฉื่อยที่ใส่ไว้ ใส่ไว้เพื่อให้ electron ที่พุ่งออกมาจาก cathode วิ่งชน atom ของแก้ส
และมันจะได้เกิดการ glow เรืองแสงเห็นเป็น beam ของ electron ได้ครับ
จะใช้ในหลอด cathode ray ที่ใช้ในการทดลองเบี่ยงเบนลำ electron จะได้เห็น beam ของมันได้ชัดเจน
สำหรับหลอด Cathode ray แบบไม่ใส่แก้สเฉื่อย ก็จะต้องมี fluorescent screen แบบในภาพนี้ครับ
(แบบไม่ใส่แก้สเฉื่อย pressure ข้างในก็ต่ำมากเช่นกัน คือสูบอากาศออกหมดเลย)
ปล. ขอเสริมความเข้าใจหน่อยนะครับ ไอ้ที่บอกว่าเป็นหลอดสุญญากาศนี่คือหมายถึงว่าดูดอากาศออกแล้ว
เอาแก๊สที่จะศึกษาใส่ลงไปแทนใช่มั้ยครับ(มันไม่ได้ว่างเปล่าจริงๆใช่มั้ยครับ
ใช่แล้วครับ ดูดอากาศออกจนเหลือ pressure ต่ำมากแบบที่อธิบายในภาพนี้
แล้วเอาแก้สที่ต้องการใส่ลงไปแทน (โดยให้ pressure ต่ำมากเท่าเดิม)
การที่ต้องเป็นแก้สเฉื่อย เนื่องจากมันล่องลอยอยู่ในลักษณะ "Atom" ครับ
มิได้อยู่ในรูปโมเลกุล ดังนั้น electron ที่ flow ผ่านจึงชนแค่ atom (มิได้ชนโมเลกุล)
เพราะหากใส่แก้สที่เป็นโมเลกุล electron จะกระเจิงกระจายอย่างมากมายเลยครับ
เป็น Electron จากขั้วโลหะครับ โดย electron จะหลุดจากขั้วโลหะ Cathode
วิ่งข้ามไปยังขั้ว Anode ครับ
ถ้าเป็นอิเล็กตรอนจากขั้วโลหะแล้วแก๊สที่ใส่ในหลอดมีไว้ทำอะไรครับ
แก้สเฉื่อยที่ใส่ไว้ ใส่ไว้เพื่อให้ electron ที่พุ่งออกมาจาก cathode วิ่งชน atom ของแก้ส
และมันจะได้เกิดการ glow เรืองแสงเห็นเป็น beam ของ electron ได้ครับ
จะใช้ในหลอด cathode ray ที่ใช้ในการทดลองเบี่ยงเบนลำ electron จะได้เห็น beam ของมันได้ชัดเจน
สำหรับหลอด Cathode ray แบบไม่ใส่แก้สเฉื่อย ก็จะต้องมี fluorescent screen แบบในภาพนี้ครับ
(แบบไม่ใส่แก้สเฉื่อย pressure ข้างในก็ต่ำมากเช่นกัน คือสูบอากาศออกหมดเลย)
ปล. ขอเสริมความเข้าใจหน่อยนะครับ ไอ้ที่บอกว่าเป็นหลอดสุญญากาศนี่คือหมายถึงว่าดูดอากาศออกแล้ว
เอาแก๊สที่จะศึกษาใส่ลงไปแทนใช่มั้ยครับ(มันไม่ได้ว่างเปล่าจริงๆใช่มั้ยครับ
ใช่แล้วครับ ดูดอากาศออกจนเหลือ pressure ต่ำมากแบบที่อธิบายในภาพนี้
แล้วเอาแก้สที่ต้องการใส่ลงไปแทน (โดยให้ pressure ต่ำมากเท่าเดิม)
การที่ต้องเป็นแก้สเฉื่อย เนื่องจากมันล่องลอยอยู่ในลักษณะ "Atom" ครับ
มิได้อยู่ในรูปโมเลกุล ดังนั้น electron ที่ flow ผ่านจึงชนแค่ atom (มิได้ชนโมเลกุล)
เพราะหากใส่แก้สที่เป็นโมเลกุล electron จะกระเจิงกระจายอย่างมากมายเลยครับ
แสดงความคิดเห็น
สงสัยเกี่ยวกับการทดลองหลอดรังสีแคโทดครับ
ปล. ขอเสริมความเข้าใจหน่อยนะครับ ไอ้ที่บอกว่าเป็นหลอดสุญญากาศนี่คือหมายถึงว่าดูดอากาศออกแล้วเอาแก๊สที่จะศึกษาใส่ลงไปแทนใช่มั้ยครับ(มันไม่ได้ว่างเปล่าจริงๆใช่มั้ยครับ