ข้อเท็จจริง ไม่อิงนิยาย ของ Harvard University

มหาวิทยาลัยฮาเวิด (อังกฤษ: Harvard University อ่านว่า ฮารฺเวิรฺด) มหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริด รัฐแมสซาชูเซต สหรัฐอเมริกาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) มีอายุครบ 370 ปีใน พ.ศ. 2549

ฮาเวิดเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก โดยในปี พ.ศ. 2552-2553 มหาวิทยาลัยฮาเวิดยังคงได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของสหรัฐอเมริกา โดยนิตยสารยูเอสนิว และได้รับการจัดอันดับโดยไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์ ให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของโลก ติดต่อกันมายาวนานหลายปี

ประวัติมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

กลุ่มผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดดคือ คณะนักบวชที่เรียกตนเองว่า "เพียวริตัน" ซึ่งอพยพมาจากประเทศอังกฤษโดยได้มีตั้งวิทยาลัยขึ้นมา มีจุดประสงค์ที่จะสร้างนักบวชเพื่อให้สามารถเผยแพร่ศาสนาตามแนวทางของลัทธิของตนได้ โดยเริ่มต้นในชื่อว่า "เดอะ นิว คอลเลจ" (The New College) ในปี พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อ วิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard College) เมื่อ 13 มีนาคม พ.ศ. 2182 (ค.ศ. 1639) ซึ่งตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่ จอห์น ฮาร์วาร์ด นักบวชเพียวริแตนท่านหนึ่ง ซึ่งสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเอมมานูเอล (Emmanuel College) ของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ผู้ได้ทำพินัยกรรมบริจาคหนังสือจำนวนประมาณ 400 เล่มและเงินจำนวนหนึ่งที่ไม่มากนักแก่ทางวิทยาลัย และในปี พ.ศ. 2323 (ค.ศ. 1780) วิทยาลัยได้เปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัย ในชั้นแรกนั้นวิทยาลัยมีครูเพียงคนเดียว และมีนักเรียนชุดแรก 12 คน โดยเป็นลักษณะโรงเรียนกินนอน

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดเริ่มเข้าสู่ยุคของความเป็นมหาวิทยาลัยสมัยใหม่ภายใต้การบริหารของ อธิการบดี ชาร์ล วิลเลียม อีเลียต (Charles William Eliot) ในระหว่างปี ค.ศ. 1869-1909 โดยอธิการบดีอีเลียต ได้เริ่มนำระบบวิชาเลือก การใช้ระบบหน่วยกิต การสอบคัดเลือก เข้ามาใช้กับมหาวิทยาลัย



เกียรติภูมิของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดมีชื่อเสียงมากในเรื่องคุณภาพทางวิชาการ คุณภาพของอาจารย์ที่สอนและคุณภาพของนักศึกษา โดยศิษย์เก่าและอาจารย์ของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้รับรางวัลโนเบลรวมกัน 75 รางวัล และรางวัลพูลิตเซอร์ 15 รางวัลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 มีคณาจารย์เข้าไปเป็นที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลหลายท่าน และได้ผลิตผู้บริหารองค์การทางธุรกิจที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก ทำให้นักธุรกิจหรือผู้ประสงค์ที่จะประสบความสำเร็จทางธุรกิจจากทั้งในและนอกประเทศได้เข้ามาเรียนกันมาก

ในปัจจุบัน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยได้ชื่อว่าเป็นห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลก (15,555,533 เล่ม) และฮาร์วาร์ดได้ชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่มีเงินกองทุน (Endowment) สูงที่สุดในโลก คือ 34.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2550)


ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง

ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงของฮาร์วาร์ดมีหลากหลายคน รวมถึงประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา 8 คน ได้แก่

จอห์น แอดัมส์
จอห์น ควินซี แอดัมส์
จอห์น เอฟ. เคนเนดี
แฟรงกลิน รูสเวลต์
ธีโอดอร์ รูสเวลต์
รัทเทอร์ฟอร์ด บี. เฮส์
จอร์จ ดับเบิลยู. บุช
บารัก โอบามา

นอกจากนี้ยังมีมหาเศรษฐี บิล เกตส์ เจ้าของบริษัทคอมพิวเตอร์ไมโครซอฟท์ (ดรอปเรียนในช่วงปริญญาตรี ขณะอายุ 19 ปี เพื่อไปสานต่อความฝันทางธุรกิจ จนกระทั่งประสบความสำเร็จ และต่อมาทางมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้ประสาทปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ให้ในปี ค.ศ. 2007) และผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลอีก 15 คน


เปิดรายการเลือกหลัก
วิกิพีเดีย    ค้นหา
แก้ไขเฝ้าดูหน้านี้อ่านในภาษาอื่น
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
Page issues
มหาวิทยาลัยฮาเวิด (อังกฤษ: Harvard University อ่านว่า ฮารฺเวิรฺด) มหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริด รัฐแมสซาชูเซต สหรัฐอเมริกาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) มีอายุครบ 370 ปีใน พ.ศ. 2549

มหาวิทยาลัยฮาเวิด
Harvard Wreath Logo 1.svg
ตราสัญลักมหาวิทยาลัยฮาเวิด
คติพจน์
Veritas
คติพจน์อังกฤษ
Truth
สถาปนา
8 กันยายน พ.ศ. 2179
18 กันยายน พ.ศ. 2179
ประเภท
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน
ทุนทรัพย์
27.4 พันล้าน ดอลล่าสหรัฐ
ประธาน
Drew Gilpin Faust
จำนวนอาจารย์
2,107 คน [4]
จำนวนเจ้าหน้าที่
2,497 คน (ไม่รวมบุคลากรทางการแพทย์)
10,674 คน (ไม่รวมบุคลากรทางการแพทย์)

จำนวนผู้ศึกษา
21,225 คน

จำนวน ป.ตรี
7,181 คน แบ่งเป็น
6,655 คน (ภาคปกติ)
526 คน (ภาคสมทบ)

จำนวนบัณฑิตศึกษา
14,044 คน (รวมโทกับเอก)

ที่ตั้ง
เมืองเคมบริด, รัฐแมสซาชูเซต, ธงของสหรัฐอเมริกา สหรัฐ
ประเทศ
ธงของสหรัฐอเมริกา สหรัฐ

วิทยาเขต
เขตเมือง
210 เอเคอร์s (0.85 กม²) (วิทยาเขตหลัก)
22 เอเคอร์s (0.089 กม²) (วิทยาเขตการแพทย์)
359 เอเคอร์s (145 เฮกตาร์) (วิทยาเขต Allston)[5]
Newspaper
The Harvard Crimson

สีประจำสถาบัน
Crimson    

การกรีฑา
41 ทีม
Ivy League
NCAA Division I
Harvard Crimson

มาสคอต
Crimson

เว็บไซต์
harvard.edu
Harvard University


ฮาเวิดเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก โดยในปี พ.ศ. 2552-2553 มหาวิทยาลัยฮาเวิดยังคงได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของสหรัฐอเมริกา โดยนิตยสารยูเอสนิว[6] และได้รับการจัดอันดับโดยไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์
ให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของโลก ติดต่อกันมายาวนานหลายปี


ประวัติมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

กลุ่มผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดดคือ คณะนักบวชที่เรียกตนเองว่า "เพียวริตัน" ซึ่งอพยพมาจากประเทศอังกฤษโดยได้มีตั้งวิทยาลัยขึ้นมา มีจุดประสงค์ที่จะสร้างนักบวชเพื่อให้สามารถเผยแพร่ศาสนาตามแนวทางของลัทธิของตนได้ โดยเริ่มต้นในชื่อว่า "เดอะ นิว คอลเลจ" (The New College) ในปี พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อ วิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard College) เมื่อ 13 มีนาคม พ.ศ. 2182 (ค.ศ. 1639) ซึ่งตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่ จอห์น ฮาร์วาร์ด นักบวชเพียวริแตนท่านหนึ่ง ซึ่งสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเอมมานูเอล (Emmanuel College) ของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ผู้ได้ทำพินัยกรรมบริจาคหนังสือจำนวนประมาณ 400 เล่มและเงินจำนวนหนึ่งที่ไม่มากนักแก่ทางวิทยาลัย และในปี พ.ศ. 2323 (ค.ศ. 1780) วิทยาลัยได้เปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัย ในชั้นแรกนั้นวิทยาลัยมีครูเพียงคนเดียว และมีนักเรียนชุดแรก 12 คน โดยเป็นลักษณะโรงเรียนกินนอน

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดเริ่มเข้าสู่ยุคของความเป็นมหาวิทยาลัยสมัยใหม่ภายใต้การบริหารของ อธิการบดี ชาร์ล วิลเลียม อีเลียต (Charles William Eliot) ในระหว่างปี ค.ศ. 1869-1909 โดยอธิการบดีอีเลียต ได้เริ่มนำระบบวิชาเลือก การใช้ระบบหน่วยกิต การสอบคัดเลือก เข้ามาใช้กับมหาวิทยาลัย


เกียรติภูมิของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด    

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดมีชื่อเสียงมากในเรื่องคุณภาพทางวิชาการ คุณภาพของอาจารย์ที่สอนและคุณภาพของนักศึกษา โดยศิษย์เก่าและอาจารย์ของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้รับรางวัลโนเบลรวมกัน 75 รางวัล และรางวัลพูลิตเซอร์ 15 รางวัลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 มีคณาจารย์เข้าไปเป็นที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลหลายท่าน และได้ผลิตผู้บริหารองค์การทางธุรกิจที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก ทำให้นักธุรกิจหรือผู้ประสงค์ที่จะประสบความสำเร็จทางธุรกิจจากทั้งในและนอกประเทศได้เข้ามาเรียนกันมาก

ในปัจจุบัน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยได้ชื่อว่าเป็นห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลก (15,555,533 เล่ม) และฮาร์วาร์ดได้ชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่มีเงินกองทุน (Endowment) สูงที่สุดในโลก คือ 34.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2550)

ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง    

ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงของฮาร์วาร์ดมีหลากหลายคน รวมถึงประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา 8 คน ได้แก่

จอห์น แอดัมส์
จอห์น ควินซี แอดัมส์
จอห์น เอฟ. เคนเนดี
แฟรงกลิน รูสเวลต์
ธีโอดอร์ รูสเวลต์
รัทเทอร์ฟอร์ด บี. เฮส์
จอร์จ ดับเบิลยู. บุช
บารัก โอบามา

นอกจากนี้ยังมีมหาเศรษฐี บิล เกตส์ เจ้าของบริษัทคอมพิวเตอร์ไมโครซอฟท์ (ดรอปเรียนในช่วงปริญญาตรี ขณะอายุ 19 ปี เพื่อไปสานต่อความฝันทางธุรกิจ จนกระทั่งประสบความสำเร็จ และต่อมาทางมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้ประสาทปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ให้ในปี ค.ศ. 2007) และผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลอีก 15 คน


ศิษย์เก่าชาวไทยที่มีชื่อเสียง    


ศิษย์เก่าที่ทำคุณประโยชน์แก่ชาวไทยหรือเป็นนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ ได้รับการยอมรับมากมีหลายท่าน อาทิ


สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ดร. คุณหญิง กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา
หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล
ชุมพล ณ ลำเลียง
บัณฑูร ล่ำซำ
ศาสตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย
ดร. ประสาร ไตรรัตนวรกุล
ศ. เดชา บุญค้ำ
ศ. ดร.นพ.เทพพนม เมืองแมน
ธารินทร์ นิมมานเหมินท์
ศ. ดร. บุณรอด บิณฑสัณฑ์
พระยาศัลวิธานนิเทศ (แอบ รักตประจิต)
ศ. ดร. คุณหญิง สุชาดา กีระนันทน์
ดร. สุรเกียรติ เสถียรไทย
ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ
ดร. สุวรรณ วลัยเสถียร
ศ. ดร. วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
ดร. อัมมาร สยามวาลา
ณัฐ ศักดาทร
ดร.สายพิณ ศุพุทธมงคล
วนิษา เรซ
ปิยะ ซอโสตถิกุล
นายแพทย์ประดิษฐ สินธวณรงค์
ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร
ผศ. ดร. พสิษฐ์ ภควัชร์ภาณุรัตน์
ผศ. ดร. พรพรรณ มาตังคสมบัติ ชูพงศ์
ผศ. ดร. ดนยา ปโกฏิประภา
ดร. ต่อศักดิ์ ล้วนไพศาลนนท์

ที่มา วิกิพีเดีย

แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่