คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
ตัวอาคารไม่ได้ตั้งอยู่บนดิน
ตัวอาคารตั้งอยู่บนเสาเข็มที่ถ่ายน้ำหนักลงไปใต้ชั้นดินอ่อนที่ว่า
พื้นใต้ดินก็จะอยู่บนคานที่เชื่อมเสาถ่ายน้ำหนักลงระบบฐานราก
คนพูดเอามาอ้างเพราะ ไม่อยากให้คุณสร้าง
มี2ปัจจัย
1ยุ่งยาก ค่าใช้จ่ายสูง
2ระบบหมุนเวียนอากาศ ระบบระบายน้ำ ไม่ง่าย ยิ่งพื้นที่สุพรรณเป็นพื้นที่เสี่ยงต่อน้ำท่วม ยิ่งไม่น่าทำขนาดให้ใหญ่
คนแถบนี้เค้าคิดระบบบ้านยกพื้นใต้ถุนสูง มันต้องมีเหตุผลสิครับ
ตัวอาคารตั้งอยู่บนเสาเข็มที่ถ่ายน้ำหนักลงไปใต้ชั้นดินอ่อนที่ว่า
พื้นใต้ดินก็จะอยู่บนคานที่เชื่อมเสาถ่ายน้ำหนักลงระบบฐานราก
คนพูดเอามาอ้างเพราะ ไม่อยากให้คุณสร้าง
มี2ปัจจัย
1ยุ่งยาก ค่าใช้จ่ายสูง
2ระบบหมุนเวียนอากาศ ระบบระบายน้ำ ไม่ง่าย ยิ่งพื้นที่สุพรรณเป็นพื้นที่เสี่ยงต่อน้ำท่วม ยิ่งไม่น่าทำขนาดให้ใหญ่
คนแถบนี้เค้าคิดระบบบ้านยกพื้นใต้ถุนสูง มันต้องมีเหตุผลสิครับ
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ธรณีวิทยา
วิศวกรรมศาสตร์
ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง
กรมที่ดิน
นักธรณีวิทยา (Geologist)
ชุดดินทางธรณีวิทยาชุดไหนบ้าง ที่สามารถสร้างชั้นใต้ดินขนาดใหญ่ได้ (เข้ามาอ่านก่อนครับ คนละคำถามกับกระทู้เก่า)
ว่าชุดดินในประเทศไทยชุดใด หรือประเภทใด
ที่สามารถขุดเจาะเพื่อสร้างชั้นใต้ดินที่มีขนาดกว้างใหญ่ได้
(อย่างที่รถไฟฟ้าใต้ดินเขาทำ ต้องมีสภาพธรณีวิทยาเป็นยังไง, ชุดดินในพื้นที่บริเวณนั้นต้องเป็นชุดไหนถึงจะเหมาะสมที่สุด และไม่เกิดปัญหาตามมาภายหลัง)
คำตอบที่ต้องการ ผมขออย่างเดียวครับ
คือขอให้เจาะจงมาเลย ว่าชุดไหนบ้าง; ยกตัวอย่างว่า ชุดดินราชบุรี ชุดดินอยุธยา ฯลฯ อะไรก็ว่ามาครับ แต่ขอให้เป็นคำตอบที่ถูกต้องจริงๆ
ไม่จำเป็นต้องละเอียดถึงขนาดที่ว่าสภาพดินเป็นยังไง, ลึกอะไรเท่าไหร่ก็ได้
แค่ให้บอก "ชื่อชุดดิน" ที่สามารถสร้างชั้นใต้ดินได้ก็พอครับ
จะมีกี่ชุด, กี่ประเภทของชุดดิน ก็ขอให้บอกเถอะครับ
จะขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอความกรุณาด้วยครับ
กราบแทบเท้าผู้ที่ตอบคำถามได้ตรง และก็ขอบคุณมากๆ สำหรับผู้ที่เข้ามาอ่านแม้จะตอบไม่ตรงคำถาม หรือไม่ได้ตอบคำถามเลยก็ตาม
ขอบคุณครับ