ดิฉันรู้จักบุคคลคนหนึ่ง ข้อมูลคร่าว ๆ ดังนี้ค่ะ
กรณีศึกษา
นางสาว ก. อายุ 36 ปี (เกิดปีพ.ศ.2525) มีวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน ดังนี้
อักษรศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาจีน
อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต Eastern Literature
ประสบการณ์การทำงาน
2550 - 2556 เป็นอาจารย์สอนภาษาจีนที่มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง
2556 - 2560 ลาออกจากมหาวิทยาลัย เพราะไม่อยากมีข้อผูกพันเรื่องการชดใช้ทุน
หลังจากนั้นก็ไปเรียนป.เอกสาขา Eastern Literature สำเร็จการศึกษาในเดือนมกราคม 2561
นางสาว ก. ในวัย 36 ปี สามารถประกอบอาชีพอะไรได้นอกเหนือจากการเป็นครู/อาจารย์
เพราะเท่าที่ทราบ แนวโน้มและสถานการณ์ของการเป็นอาจารย์พนักงานมหาวิทยาลัย
ในสถาบันอุดมศึกษาไม่ค่อยจะสู้ดีนัก ในอนาคตอันใกล้ สาขาวิชาในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ คงต้องปิดตัวลงเพราะจำนวนนักศึกษาลดลง วิชาทางด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ไม่ตอบโจทย์ของตลาดแรงงาน ถูกตัดงบลงทุก ๆ ปี
ตอนนี้นางสาว ก. ตัดสินใจกลับตั้งหลักชีวิตที่บ้านเกิดก่อน เพราะทำงานอยู่ต่างถิ่นมาหลายปี
สภาพชีวิตของนางสาว ก. คงจัดอยู่ประเภท วิกฤตการว่างงานในวัยกลางคน ใช่ไหมคะ
มหาวิทยาลัยเดิมที่นางสาว ก.เคยสังกัดอยู่ ขาดเสถียรภาพ บุคลากรลาออกร้อยละ 50
มีแต่อาจารย์หน้าใหม่ ๆ เพราะอาจารย์ส่วนใหญ่ต่อสัญญาจ้างไม่ผ่าน ไม่ได้เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์บางคนก็ถูกกลั่นแกล้งระหว่างการต่อสัญญาจ้าง จึงทำให้อาจารย์เก่า ๆ ลาออกไปคิดเป็นประมาณร้อยละ 50
เรียนจบสาขาวิชา Eastern Literature จากประเทศจีน นอกจากเป็นอาจารย์แล้ว สามารถประกอบอาชีพอะไรได้บ้างคะ
กรณีศึกษา
นางสาว ก. อายุ 36 ปี (เกิดปีพ.ศ.2525) มีวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน ดังนี้
อักษรศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาจีน
อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต Eastern Literature
ประสบการณ์การทำงาน
2550 - 2556 เป็นอาจารย์สอนภาษาจีนที่มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง
2556 - 2560 ลาออกจากมหาวิทยาลัย เพราะไม่อยากมีข้อผูกพันเรื่องการชดใช้ทุน
หลังจากนั้นก็ไปเรียนป.เอกสาขา Eastern Literature สำเร็จการศึกษาในเดือนมกราคม 2561
นางสาว ก. ในวัย 36 ปี สามารถประกอบอาชีพอะไรได้นอกเหนือจากการเป็นครู/อาจารย์
เพราะเท่าที่ทราบ แนวโน้มและสถานการณ์ของการเป็นอาจารย์พนักงานมหาวิทยาลัย
ในสถาบันอุดมศึกษาไม่ค่อยจะสู้ดีนัก ในอนาคตอันใกล้ สาขาวิชาในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ คงต้องปิดตัวลงเพราะจำนวนนักศึกษาลดลง วิชาทางด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ไม่ตอบโจทย์ของตลาดแรงงาน ถูกตัดงบลงทุก ๆ ปี
ตอนนี้นางสาว ก. ตัดสินใจกลับตั้งหลักชีวิตที่บ้านเกิดก่อน เพราะทำงานอยู่ต่างถิ่นมาหลายปี
สภาพชีวิตของนางสาว ก. คงจัดอยู่ประเภท วิกฤตการว่างงานในวัยกลางคน ใช่ไหมคะ
มหาวิทยาลัยเดิมที่นางสาว ก.เคยสังกัดอยู่ ขาดเสถียรภาพ บุคลากรลาออกร้อยละ 50
มีแต่อาจารย์หน้าใหม่ ๆ เพราะอาจารย์ส่วนใหญ่ต่อสัญญาจ้างไม่ผ่าน ไม่ได้เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์บางคนก็ถูกกลั่นแกล้งระหว่างการต่อสัญญาจ้าง จึงทำให้อาจารย์เก่า ๆ ลาออกไปคิดเป็นประมาณร้อยละ 50