สวัสดีค่ะ ใครหลายๆคนในสมัยนี้การที่เราจะซื้อบ้านสักหลังตามความต้องการนั้นไม่ใช้เรื่องง่ายๆเลยใช้ไหมละค่ะ ไหนเราต้องหาที่เองหาผู้รับเหมามาทำการออกแบบสร้างบ้านให้เราสักหลังนั้นมันไม่ใช้เรื่องง่ายๆเลยไหนจะทำเรื่องทำการ
กู้เงินสร้างบ้านเอง ก็ยากมากๆในสมัยนี้ ดังนั้น
โครงการบ้านจัดสรรจึงเป็นอาจจะเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับคนที่อยากมีบ้านแถมไม่ได้ไปติดต่ออะไรให้วุ่นวาย สามารถที่ย้ายไปอยู่ได้เลย การทำการกู้ซื้อก็ทำได้งายกว่าสร้างเองอีกด้วย ดังนั้นบทความนี้เราจะมาเจาะลึกถึง กฎ กติกา มารยาท
ค่าส่วนกลาง บ้านจัดสรร ที่ เราอยู่อาศัยควรจะต้องทราบเพื่อเวลามีปัญหาอะไรเราจะได้สามารถเเก้ปัญหาได้ถูกวิธีค่ะ ถ้าพร้อมแล้วเราไปดูกันเลยค่ะ
ค่าส่วนกลางที่ไม่ควรหลีกเลี่ยง
หลายคนอาจจะเคยมีคำถามที่ว่า ทำไมต้องจ่ายเงินค่าดูแลรักษาสาธารณูปโภคเหล่านั้นในเมื่อคุณจ่ายเงินเป็นล้านๆในการ
ซื้อบ้านไปแล้ว ดังนั้นค่าดูแลสาธารณูปโภคก็ต้องให้เจ้าของโครงการเขารับผิดชอบไปสิ ค่ะทำไมหนูจะต้องไปจ่ายละใช้ก็ไม่ค่อยได้ใช้ทำงานเสร็จก็กลับบ้านนอนเลย หลายท่านจะคิดแบบนั้นไม่ได้นะค่ะ เพราะว่าอะไรนะหรอ ก็เพราะว่า
พ.ร.บ.บ้านจัดสรรประเทศเราระบุไว้ว่า “บ้านจัดสรร คือการที่”ผู้จัดสรร” หรือ “เจ้าของโครงการ” ไปสรรหาที่ดินมาจัดแบ่งหรือจัดสร้างหมู่บ้านแล้วแบ่งขาย ดังนั้นสาธารณูปโภคส่วนกลางเช่น ถนน สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ ฯลฯ จะตกเป็นภาระจำยอมเพื่อประโยชน์แก่ที่ดินจัดสรรทุกแปลง ซึ่ง “เจ้าของโครงการ” มีหน้าที่บำรุงรักษาและจัดการดูแลโดยมีสิทธิเก็บเรียกค่าใช้จ่ายจากผู้อยู่อาศัย”
เห็นไหมละค่ะว่า ค่าส่วนกลางจึงเป็นหน้าที่ ที่เราต้องทำไม่ว่าจะใช้หรือไม่ใช้ก็ตามค่า ไม่ใช่จ่ายเงินซื้อบ้านแล้วจบแต่ก็มีบ้างบ้านที่ไม่ยอมจ่ายทำให้ เจ้าของโครงการอาจจะจัดการดูเเลได้ไม่เต็มที่จนอาจจะทำให้ผู้ที่จ่ายค่าส่สนกลางได้รับความเดือนร้อนได้ดังนั้นพวกเราเป็นลูกบ้านที่ดีควรจะช่วยๆกันนะค่ะ
ค่าส่วนกลางตามขนาดพื้นที่ / ประเภทใช้งาน
สำหรับหมู่บ้านจัดสรรที่มีบ้านขนาดแตกต่างกันไป เช่น บ้านเดี่ยว บ้านแฝด คฤหาสน์ ฯลฯ โดยท่านเจ้าของบ้านขนาดแตกต่างกันมีหน้าที่จ่ายเงินค่าส่วนกลางในอัตราที่เพิ่มขึ้นตามขนาดของพื้นที่ ซึ่งเป็นการใช้งานที่นอกเหนือจากการอยู่อาศัย ก็ต้องจ่ายค่าส่วนกลางที่ต่างออกไป ไม่ว่าจะซื้อบ้านแล้วมาทำบริษัท ร้านค้า ฯลฯ ซึ่งก็แล้วแต่จะตกลงในที่ประชุมนิติบุคคล ประจำหมู่บ้าน นั้นๆ
จ่ายค่าส่วนกลาง…ล่าช้า ต้องทำอย่างไรละ
ตามกฎหมายหมู่บ้านจัดสรรหากเราทำการจ่ายล่าช้าก็จะถูกปรับตามอัตราที่กำหนดจากที่นิติบุคคลกำหนดโดยจะไม่ตายตัวเพราะอยู่ที่เราทำการประชุมและตกลงกันในหมู่บ้านนั้นๆ โดยถ้าเราไม่รีบไปจ่ายเมื่อครบกำหนดชำระเกิน 3 เดือนขึ้นไป เราอาจจะโดยระงับการใช้สิทธิในสาธารณูปโภคได้ บ้างอย่างได้นะค่ะไม่ว่าจะเป็นสวนสาธารณะในหมู่บ้าน ไม่มีการมาเก็บขยะหน้าบ้านให้ แล้วแต่ทาง นิติบุคคลบุคคลนั้นๆจะทำการลงโทษค่ะ และหากค้างชำระค่าส่วนกลาง 6 เดือนขึ้นไปจะถูกระงับสิทธิในการจดทะเบียนเพื่อซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ จนกว่าจะชำระค่าส่วนกลางเราจะไม่มีสิทธิขายหรือซื้อบ้านหลังนั้น
เป็นยังไงกันบ้างค่ะกับ กฎ กติกา มารยาท ของการอาศัยอยู่ในหมูบ้านจัดสรร โดยในครั้งหน้านั้นเราจะมาทำความรู้จักกับคำว่า นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร ให้มากยิ่งขึ้นแล้วพบกันใหม่ค่ะ
ที่มา
https://goo.gl/6JVJEK
ค่าส่วนกลาง บ้านจัดสรร เรื่องไม่เล็กที่หลาย ๆ คนมองข้าม
สวัสดีค่ะ ใครหลายๆคนในสมัยนี้การที่เราจะซื้อบ้านสักหลังตามความต้องการนั้นไม่ใช้เรื่องง่ายๆเลยใช้ไหมละค่ะ ไหนเราต้องหาที่เองหาผู้รับเหมามาทำการออกแบบสร้างบ้านให้เราสักหลังนั้นมันไม่ใช้เรื่องง่ายๆเลยไหนจะทำเรื่องทำการกู้เงินสร้างบ้านเอง ก็ยากมากๆในสมัยนี้ ดังนั้นโครงการบ้านจัดสรรจึงเป็นอาจจะเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับคนที่อยากมีบ้านแถมไม่ได้ไปติดต่ออะไรให้วุ่นวาย สามารถที่ย้ายไปอยู่ได้เลย การทำการกู้ซื้อก็ทำได้งายกว่าสร้างเองอีกด้วย ดังนั้นบทความนี้เราจะมาเจาะลึกถึง กฎ กติกา มารยาท ค่าส่วนกลาง บ้านจัดสรร ที่ เราอยู่อาศัยควรจะต้องทราบเพื่อเวลามีปัญหาอะไรเราจะได้สามารถเเก้ปัญหาได้ถูกวิธีค่ะ ถ้าพร้อมแล้วเราไปดูกันเลยค่ะ
ค่าส่วนกลางที่ไม่ควรหลีกเลี่ยง
หลายคนอาจจะเคยมีคำถามที่ว่า ทำไมต้องจ่ายเงินค่าดูแลรักษาสาธารณูปโภคเหล่านั้นในเมื่อคุณจ่ายเงินเป็นล้านๆในการซื้อบ้านไปแล้ว ดังนั้นค่าดูแลสาธารณูปโภคก็ต้องให้เจ้าของโครงการเขารับผิดชอบไปสิ ค่ะทำไมหนูจะต้องไปจ่ายละใช้ก็ไม่ค่อยได้ใช้ทำงานเสร็จก็กลับบ้านนอนเลย หลายท่านจะคิดแบบนั้นไม่ได้นะค่ะ เพราะว่าอะไรนะหรอ ก็เพราะว่า
พ.ร.บ.บ้านจัดสรรประเทศเราระบุไว้ว่า “บ้านจัดสรร คือการที่”ผู้จัดสรร” หรือ “เจ้าของโครงการ” ไปสรรหาที่ดินมาจัดแบ่งหรือจัดสร้างหมู่บ้านแล้วแบ่งขาย ดังนั้นสาธารณูปโภคส่วนกลางเช่น ถนน สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ ฯลฯ จะตกเป็นภาระจำยอมเพื่อประโยชน์แก่ที่ดินจัดสรรทุกแปลง ซึ่ง “เจ้าของโครงการ” มีหน้าที่บำรุงรักษาและจัดการดูแลโดยมีสิทธิเก็บเรียกค่าใช้จ่ายจากผู้อยู่อาศัย”
เห็นไหมละค่ะว่า ค่าส่วนกลางจึงเป็นหน้าที่ ที่เราต้องทำไม่ว่าจะใช้หรือไม่ใช้ก็ตามค่า ไม่ใช่จ่ายเงินซื้อบ้านแล้วจบแต่ก็มีบ้างบ้านที่ไม่ยอมจ่ายทำให้ เจ้าของโครงการอาจจะจัดการดูเเลได้ไม่เต็มที่จนอาจจะทำให้ผู้ที่จ่ายค่าส่สนกลางได้รับความเดือนร้อนได้ดังนั้นพวกเราเป็นลูกบ้านที่ดีควรจะช่วยๆกันนะค่ะ
ค่าส่วนกลางตามขนาดพื้นที่ / ประเภทใช้งาน
สำหรับหมู่บ้านจัดสรรที่มีบ้านขนาดแตกต่างกันไป เช่น บ้านเดี่ยว บ้านแฝด คฤหาสน์ ฯลฯ โดยท่านเจ้าของบ้านขนาดแตกต่างกันมีหน้าที่จ่ายเงินค่าส่วนกลางในอัตราที่เพิ่มขึ้นตามขนาดของพื้นที่ ซึ่งเป็นการใช้งานที่นอกเหนือจากการอยู่อาศัย ก็ต้องจ่ายค่าส่วนกลางที่ต่างออกไป ไม่ว่าจะซื้อบ้านแล้วมาทำบริษัท ร้านค้า ฯลฯ ซึ่งก็แล้วแต่จะตกลงในที่ประชุมนิติบุคคล ประจำหมู่บ้าน นั้นๆ
จ่ายค่าส่วนกลาง…ล่าช้า ต้องทำอย่างไรละ
ตามกฎหมายหมู่บ้านจัดสรรหากเราทำการจ่ายล่าช้าก็จะถูกปรับตามอัตราที่กำหนดจากที่นิติบุคคลกำหนดโดยจะไม่ตายตัวเพราะอยู่ที่เราทำการประชุมและตกลงกันในหมู่บ้านนั้นๆ โดยถ้าเราไม่รีบไปจ่ายเมื่อครบกำหนดชำระเกิน 3 เดือนขึ้นไป เราอาจจะโดยระงับการใช้สิทธิในสาธารณูปโภคได้ บ้างอย่างได้นะค่ะไม่ว่าจะเป็นสวนสาธารณะในหมู่บ้าน ไม่มีการมาเก็บขยะหน้าบ้านให้ แล้วแต่ทาง นิติบุคคลบุคคลนั้นๆจะทำการลงโทษค่ะ และหากค้างชำระค่าส่วนกลาง 6 เดือนขึ้นไปจะถูกระงับสิทธิในการจดทะเบียนเพื่อซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ จนกว่าจะชำระค่าส่วนกลางเราจะไม่มีสิทธิขายหรือซื้อบ้านหลังนั้น
เป็นยังไงกันบ้างค่ะกับ กฎ กติกา มารยาท ของการอาศัยอยู่ในหมูบ้านจัดสรร โดยในครั้งหน้านั้นเราจะมาทำความรู้จักกับคำว่า นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร ให้มากยิ่งขึ้นแล้วพบกันใหม่ค่ะ
ที่มา https://goo.gl/6JVJEK