จะเห็นว่า การทดสอบไอคิว
บ่งบอกถึงการวัด ระดับสติปัญญา การวิเคราะห์แยกแยะ และการเข้าใจถึงหลักเชิงซ้อนของโจทย์
แต่บางคนก็ งง ว่า ถ้าเราทดสอบ ไอคิว ครั้งแรก แล้วได้น้อย
พอครั้งที่สอง เราอ่านแล้วท่องจำโจทย์ที่เคยสอบ ไปสอบใหม่
เราก็จะได้คะแนนสูงขึ้น แล้วไอคิว เราก็จะสูงขึ้นนะซิ
จริงอยู่ แม้คุณจะอ่านมากขึ้นแล้วไปสอบจนได้คะแนนสูง
แต่ ไอคิวของคุณก็ไม่ได้เพิ่มขึ้นตามคะแนน
ไหงเป็น งั้นหละ....
ลองทำความเข้าใจกับมันดูครับ
ไอคิว ที่เขาวัดคือ ความเข้าใจเชิงซ้อน ณ วินาทีแรกที่ได้เห็นโจทย์ครับ
เช่น ตรงหน้าเรา มี แผ่นไม้รูป สามเหลี่ยม แล้ว ข้างๆก็มีช่อง สำหรับให้เอาแผ่นไม้นั้น
ลงไปใส่ให้ถูกช่อง โดยมีช่อง สี่เหลี่ยม วงกลม สามเหลี่ยม
แน่นอน คนทั่วไป มองแว๊บแรกก็รู้แล้วว่า โจทย์คือ
เอาแผ่นไม้รูปสามเหลี่ยม ไปใส่ให้ถูกช่องของมัน
โดยที่ ไม่มีใครมาบอกอะไร เราก็สามารถเข้าใจได้เอง
หรือบางคน เห็น เลขสองตัว รวมกันแล้วมีผลลัพท์ออกมา
เขา ก็สามารถ รู้ว่า นั้นคือการเอาตัวเลขสองตัวมารวมกัน
โดยที่เขาเองยังไม่ได้เรียนเรื่องการ บวกเลขด้วยซ้ำ
หรือ พวกระดับไอคิวสูง ๆ
เด็กบางคน มองการผสมตัวอักษรที่อ่านออกมาเป็นคำ คำ
ก็สามารถเข้าใจถึง หลักการผสมคำ ผสมวรรณยุกต์ ได้เอง
โดยไม่มีใครสอน
พวกไอคิวสูงเหล่านี้ สามารถเข้าใจโจทย์ที่มันซับซ้อน
ได้เร็วและง่ายดาย กว่าคนธรรมดาทั่วไป
ดังนั้นจึงมีการจัด ระดับ คะแนนไอคิวว่า
ได้กี่คะแนน เป็นพวก ระดับสติปัญญาทั่วไป
ได้กี่คะแนน ถึงจัดว่าเป็นพวก เก่งกว่าคนทั่วไป
และได้กี่คะแนนถึงเรียกว่า พวกอัจฉริยะ
พูดมาถึงตรงนี้ ก็ยังไม่เข้าใจอยู่ดีว่า
ไอคิว มันวัดกันยังไง
ถ้าฉันสอนให้ลูกฉัน เรียนอะไรที่ยากๆแล้วเข้าใจ แล้วให้ไปสอบไอคิว
อย่างนี้ลูกฉันก็ อัจฉริยะซิ
ลองให้นึกอย่างนี้ ครับแล้วคุณจะเข้าใจ
มันเป็นอารมณ์เดียวกันเลยครับ
กับตอนที่คุณ อยู่ๆแล้วมีคนมา ทำเซอร์ไพรส์ให้คน รู้สึก ว้าว..
เมื่อคุณได้เห็น สิ่งที่ทำให้คุณเซอร์ไพรส์
คุณจะมีความรู้สึก อะไรบางอย่างออกมา
แบบว่า ดีใจ แปลกประหลาดใจ หรือ ปิติ อะไรก็แล้วแต่
แต่ลองทำ แบบเดิมนี้เป็น หนที่สอง
แม้จะบอกคุณว่า เอาหละ ลืมๆมันไปนะ ว่าเราเคยทำเซอร์ไพรส์ ให้คุณ
แล้วเขาก็ทำแบบเดิมให้คุณ เซอร์ไพรส์ อีกครั้ง
คราวนี้ อารมณ์ ดีใจ แปลกประหลาดใจ ปิติ มันไม่เกิดขึ้นแล้วครับ
อ้า เริ่มพอเห็นภาพยังครับ
ไอคิวก็เหมือนกัน
ถ้าคุณรู้มาก่อนแล้ว แล้วคุณไปฝึกฝนความเข้าใจมาก่อน อันนั้น มันไม่ถือว่าเป็นไอคิวครับ
มันเป็นการ แสดงออกตามกระบวนการที่ได้ เรียนรู้และฝึกฝนมา
แต่ถ้าคุณไม่เคยรู้ปัญหา หรือโจทย์นั้นมาก่อน แล้วคุณตอบได้ทันที ว่าเข้าใจ หรือไม่เข้าใจมัน
อันนั้นแหละ คือ คุณได้ใช้ ไอคิว อย่างเต็มความสามารถแล้ว
ทดสอบไอคิว แท้จริงคืออะไร
บ่งบอกถึงการวัด ระดับสติปัญญา การวิเคราะห์แยกแยะ และการเข้าใจถึงหลักเชิงซ้อนของโจทย์
แต่บางคนก็ งง ว่า ถ้าเราทดสอบ ไอคิว ครั้งแรก แล้วได้น้อย
พอครั้งที่สอง เราอ่านแล้วท่องจำโจทย์ที่เคยสอบ ไปสอบใหม่
เราก็จะได้คะแนนสูงขึ้น แล้วไอคิว เราก็จะสูงขึ้นนะซิ
จริงอยู่ แม้คุณจะอ่านมากขึ้นแล้วไปสอบจนได้คะแนนสูง
แต่ ไอคิวของคุณก็ไม่ได้เพิ่มขึ้นตามคะแนน
ไหงเป็น งั้นหละ....
ลองทำความเข้าใจกับมันดูครับ
ไอคิว ที่เขาวัดคือ ความเข้าใจเชิงซ้อน ณ วินาทีแรกที่ได้เห็นโจทย์ครับ
เช่น ตรงหน้าเรา มี แผ่นไม้รูป สามเหลี่ยม แล้ว ข้างๆก็มีช่อง สำหรับให้เอาแผ่นไม้นั้น
ลงไปใส่ให้ถูกช่อง โดยมีช่อง สี่เหลี่ยม วงกลม สามเหลี่ยม
แน่นอน คนทั่วไป มองแว๊บแรกก็รู้แล้วว่า โจทย์คือ
เอาแผ่นไม้รูปสามเหลี่ยม ไปใส่ให้ถูกช่องของมัน
โดยที่ ไม่มีใครมาบอกอะไร เราก็สามารถเข้าใจได้เอง
หรือบางคน เห็น เลขสองตัว รวมกันแล้วมีผลลัพท์ออกมา
เขา ก็สามารถ รู้ว่า นั้นคือการเอาตัวเลขสองตัวมารวมกัน
โดยที่เขาเองยังไม่ได้เรียนเรื่องการ บวกเลขด้วยซ้ำ
หรือ พวกระดับไอคิวสูง ๆ
เด็กบางคน มองการผสมตัวอักษรที่อ่านออกมาเป็นคำ คำ
ก็สามารถเข้าใจถึง หลักการผสมคำ ผสมวรรณยุกต์ ได้เอง
โดยไม่มีใครสอน
พวกไอคิวสูงเหล่านี้ สามารถเข้าใจโจทย์ที่มันซับซ้อน
ได้เร็วและง่ายดาย กว่าคนธรรมดาทั่วไป
ดังนั้นจึงมีการจัด ระดับ คะแนนไอคิวว่า
ได้กี่คะแนน เป็นพวก ระดับสติปัญญาทั่วไป
ได้กี่คะแนน ถึงจัดว่าเป็นพวก เก่งกว่าคนทั่วไป
และได้กี่คะแนนถึงเรียกว่า พวกอัจฉริยะ
พูดมาถึงตรงนี้ ก็ยังไม่เข้าใจอยู่ดีว่า
ไอคิว มันวัดกันยังไง
ถ้าฉันสอนให้ลูกฉัน เรียนอะไรที่ยากๆแล้วเข้าใจ แล้วให้ไปสอบไอคิว
อย่างนี้ลูกฉันก็ อัจฉริยะซิ
ลองให้นึกอย่างนี้ ครับแล้วคุณจะเข้าใจ
มันเป็นอารมณ์เดียวกันเลยครับ
กับตอนที่คุณ อยู่ๆแล้วมีคนมา ทำเซอร์ไพรส์ให้คน รู้สึก ว้าว..
เมื่อคุณได้เห็น สิ่งที่ทำให้คุณเซอร์ไพรส์
คุณจะมีความรู้สึก อะไรบางอย่างออกมา
แบบว่า ดีใจ แปลกประหลาดใจ หรือ ปิติ อะไรก็แล้วแต่
แต่ลองทำ แบบเดิมนี้เป็น หนที่สอง
แม้จะบอกคุณว่า เอาหละ ลืมๆมันไปนะ ว่าเราเคยทำเซอร์ไพรส์ ให้คุณ
แล้วเขาก็ทำแบบเดิมให้คุณ เซอร์ไพรส์ อีกครั้ง
คราวนี้ อารมณ์ ดีใจ แปลกประหลาดใจ ปิติ มันไม่เกิดขึ้นแล้วครับ
อ้า เริ่มพอเห็นภาพยังครับ
ไอคิวก็เหมือนกัน
ถ้าคุณรู้มาก่อนแล้ว แล้วคุณไปฝึกฝนความเข้าใจมาก่อน อันนั้น มันไม่ถือว่าเป็นไอคิวครับ
มันเป็นการ แสดงออกตามกระบวนการที่ได้ เรียนรู้และฝึกฝนมา
แต่ถ้าคุณไม่เคยรู้ปัญหา หรือโจทย์นั้นมาก่อน แล้วคุณตอบได้ทันที ว่าเข้าใจ หรือไม่เข้าใจมัน
อันนั้นแหละ คือ คุณได้ใช้ ไอคิว อย่างเต็มความสามารถแล้ว