สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านที่น่ารักทุกท่าน ก็จบกันไปแล้ว สำหรับการ Assessment TPM Consistent Award [ First Stage ] ซึ่งทางผู้เขียนก็คงคิดว่า Management Tools สำหรับ Excellence Award และ Consistent Award คงไม่ต่างกันมากครับ มีเพียงเพิ่มในส่วนของ Value Stream Mapping ที่เป็น Flow ครอบคลุมทั้ง Supply chain ของ บริษัท ฯ ซึ่งการลงรายละเอียดใน Flow มากเท่าใด ก็ยิ่งมอง Losses ที่แฝงไว้อยู่ใน Flow มากขึ้นเท่านั้น และ กระบวนการทำ Supply chain นั้น จะทำให้เกิดมุมมอง Ideal Management มากขึ้น และการกำจัด Losses บางเรื่องนั้นจำเป็นที่จะต้องสร้าง นวัตกรรม เพื่อมาเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงาน กระบวนการทำงาน หรือ การกำจัดบางขั้นตอนออกไป เพื่อปูทางเข้าสู่การของรางวัล TPM Special Award ในขั้นถัดไปครับ ผู้เขียนก็คาดหวังว่า จะมีโอกาศเรียนรู้เพิ่มเติม สำหรับ การขอรางวัลระดับ TPM Special Award นี้ครับ
กลับมางานคงค้าง ในเรื่องของ Yield Loss ที่คงค้างกันไว้ครับ Yield ในภาษาอังกฤษ แปลว่า ยินยอม, การละทิ้ง , ผลผลิต และถ้ามารวมกับคำว่า Yield loss ทางผู้เขียนก็จะให้แปลความหมายคำว่ า การยินยอมให้เกิดความสูญเสียในกระบวนการผลิต หรือ ความสูญเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิต นั่นเอง ซึ่ง ถ้าให้แปลตามรูปแบบในส่วนของกระบวนการผลิต คือ การใช้ Raw material เข้าไปในกระบวนการผลิต 100 กิโลกรัม สินค้าสำเร็จรูปก็อยากให้ได้ 100 กิโลกรัมนั้นเอง แต่กระบวนการผลิตจริงในอุตสาหกรรม คงแทบเป็นไปไม่ได้ อย่างแน่นอน มันเกิดความสูญเสียในหลาย ๆ เช่น การหกหล่น , การระเหยจากการจัดเก็บ , การเน่าเสีย , การสูญเสียจาการแปรรูป และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่ง โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ จึงให้ความสำคัญต่ Yield Loss อย่าแน่นอน เพราะว่าเป็นการสูญเสีย Raw material นั้น เปรียบเสมือน การสูญหายของต้นทุนหลัก เลยทีเดียว ถ้าให้ผมยกตัวอย่างง่าย ๆ และใกล้ตัว นั้นก็คือ วันนึงเราไปจ่ายตลาด ต้องการซื้อปลาเป็น ๆ 1 ตัว ซึ่งราคากิโลกรัมละ 100 บาท แม่ค้าก็ชั่ง พบว่า น้ำหนักปลานั้น 2 กิโลกรัม จากนั้นก็ปล่อยให้แม่ค้า ดำเนินการตัดแต่ง ซึ่ง แม่ค้าก็ได้ตัดไส้ปลา เหงือก , หาง , ถอดเกร็ดปลา , เลาะก้างกลาง , ตัดครีบ , เลือดที่ไหลออกจากตัวปลา , จากนั้นก็ดำเนินการใส่ถุง และส่งให้เรากลับบ้าน ทางผู้เขียนจึงกลับมาชั่งเนื้อปลากอีกครั้ง ซึ่งพบว่า น้ำหนักเหลือเพียง 1.6 กิโลกรัม นั่นก็แสดงว่า Yield Loss นั้น สูงถึง 20 % เลยทีเดียว และถ้าผู้เขียนต้องการนำปลา ไปจัดทำ ปลาแดดเดียวทอดขาย ก็ต้องเอาไปตากแดด เพื่อให้เนื้อปลาแห้ง จากนั้นก็นำมา ทอดในน้ำมัน สุดท้ายเนื้อปลาก็จะเหลือน้ำหนักเพียง 0.8 กิโลกรัม แสดว่า Yield Loss นั้นสูงถึง 60 % เลยทีเดียว ครับ ดังนั้น การขายปลาแดดเดียวทอดแล้วนั้น ก็คงไม่ต่ำกว่า กิโลกรัมละ 400 เป็นอย่างแน่นอน ครับ ถ้ายิ่งถ้าเป็นอุตสาหกรรม ที่มีต้นทุนทางด้าน Raw material เป็นส่วนใหญ่ ก็คงเป็นประเด็นอย่างแน่นอน เพราะว่า กำไรหรือ การควบคุมต้นทุนนั้น จะเป็นเรื่องที่ทำได้ยากยิ่งอย่างแน่นอน
ถ้าให้ผู้เขียนยกตัวอย่าง บริษัท ฯ ที่มี ต้นทุนหลัก เป็น Raw material ก็คือ บริษัท ฯ ที่เป็นลักษณะนำมาผสม แต่ไม่ได้นำมาแปรรูป ซึ่ง โดยทางผู้เขียนขอยกตัวอย่างเช่น บริษัท ฯ ปุ๋ยเม็ด , น้ำตาล , อาหารสัตว์ , ข้าวสาร , ซึ่งแน่นอน วัตถุดิบเหล่านี้จะเป็นต้นทุนของบริษัท มากกว่า 90 % อย่างแน่นอน ซึ่ง ถ้าชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ นั่นก็คือ 90 % ของ Manufacturing Cost ครับ และถ้าผมยกบางบริษัท ฯ อื่นที่ มีต้นทุนหลัก ไม่ใช่วัตถุดิบครับ นั่นก็คือ อุตสาหกรรมแปรรูปนั่นเอง ซึ่งทางผมขอยกตัวอย่าง อุตสาหกรรม ยานยนต์ ซึ่ง เม็ดพลาสติก , เหล็ก , สี หรือ ส่วนประกอบอื่น ๆ ในรถยนต์นั้น มีราคาที่ต่ำ เมื่อผ่านกระบวนการแปรรูปออกมาเป็นชิ้นส่วนยานยนต์นั้น จะมีมูลค่าสูงมาก เช่น เหล็กกิโลกรัมละ 25 บาท เมื่อผ่านการปั๊มขึ้นรูป และผ่านการฉีดและอบสี ราคาสินค้าชั้นนั้น จะมีมูลค่ามากกว่า 10 -15 เท่าตัวเลยทีเดียว ซึ่ง Manufacturing Cost ของบริษัท ฯ เหล่านี้ Raw material อย่างเป็นเพียงแค่ 30 - 40 % ของ Manufacturing Cost เท่านั้นเองครับ
ดังนั้น Yield Loss อาจเป็น Major Loss ที่ใหญ่ที่สุดของบริษัท ฯ นั้น หรืออาจจะเป็น Minor Loss มันก็ขึ้นอยู่กับธุรกิจของแต่ละบริษัท นั่นเองครับ แต่อย่างไรมันก็คือ ความสูญเสีย ที่ทางโรงงานอุตสหกรรม ต้องมีการกำจัดให้ต่ำที่สุด เพื่อให้สามารถแข่งขันทางธุรกิจได่ต่อไป
สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านที่น่ารักทุกท่าน กลับมาว่ากันต่อเรื่องที่ค้างคานั่นคือ Yield Loss นั่นเองครับ แต่ก่อนจะเข้าสู่เนื้อหาหรือตัวอย่าง ทางผู้เขียนได้มีประสบการณ์ที่เป็น Case study ครั้งหนึ่งมาเล่าให้ฟังครับ ในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมานั้นทางผู้เขียนได้เริ่ม Start Project กับน้อง ๆ กลุ่มหนึ่ง ซึ่งทางผู้เขียน ต้องการทดลองหรือสร้างกระบวนการพิสูจน์ตามภาคทฤษฎี เพื่อหาแนวทางของการปรับปรุง ซึ่งการค้นหา Method ใหม่ ๆ จะเอาชนะภาคทฤษฎีนั้น จำเป็นที่จะต้องใช้ Management Tools ขั้นสูงหรือที่เรียกว่า PM Analysis ซึ่งเป็น Advance tools เลยก็ว่าได้ หลังจากที่ได้ดำเนินการทดลอง และพิสูจน์ จนได้ผลการทดลองที่เป็นหน้าพอใจ และ เมื่อมีการนำเสนอผลงานกลับพบว่า การเสนอผลงานนั้นมีข้อตำหนิ หรือข้อขัดแย้งกับ ท่านผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหลาย ซึ่งทางผู้เขียนก็ต้องกลับมาทบทวนแล้วว่า การนำเสนอบางครั้ง อาจจำเป็นที่จะต้องกล่าวที่มาและที่ไป ของ Management Tools เพื่อให้ระดับความเข้าใจของ ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหลาย นั้นเข้าใจ Objective ของแต่ละ Project นั้นเลยทีเดียว ซึ่งคงเป็นบทเรียนของทางผู้เขียนเองว่า ระดับความเข้าใจของผู้ฟังนั้น มีหลายระดับ ก็เหมือนกับ บัวในบ่อน้ำที่มีหลายระดับ ดังนั้น ถ้าผู้เขียนมีโอกาศได้ทำ Project กับน้อง ๆ ชุดใหม่ ก็คงต้องทำ Project ของบัวระดับนั้นพอ เพื่อลดความขัดแย้งจนที่ส่งผลกระทบต่อน้อง ๆ ที่ทำ Project ต่อไปครับ ( ต้องขออภัยจริง ๆ )
กลับมางานคงค้าง ในเรื่องของ Yield Loss ที่คงค้างกันไว้ครับ ก่อนจะยกตัวอย่างในเรื่องของ Yield Loss นั้น ทางผมขอแยก Yield Loss ออกเป็น 2 Section แล้วกัน และจะยกตัวอย่างของการปรับปรุงแต่ละ Section ครับ ซึ่งจากประสบการณ์ผู้เขียนนั้น จะแยกดังนี้
1. Physical Loss หรือ ผู้เขียนแปลความง่าย ๆ ก็คือ ความสูญเสียด้านกายภาพ หรือ ส่วนเนื้อที่หายไปจากกระบวนการจัดเก็บ ขั้นตอนการผลิต ขั้นตอนการเก็บรักษา รวมถึงการส่งมอบเลยทีเดียวครับ ซึ่ง Physical Loss นั้นคงไม่ยากที่จะใช้ Management Tools ขั้นกลาง มาปรับปรุงหรือ แก้ไขปัญหาได้ครับ ทางผู้เขียนอาจจะแนะนำการใช้ Why why analysis หรือ fishbone diagram เข้ามาวิเคราะห์สาเหตุ เพื่อหาแนวทางการปรับปรุง ซึ่งถือว่าเป็น Management Tools ที่ได้รับความนิยมและเชี่ยวชาญ ของท่านผู้อ่านหลาย ๆ ท่านครับ
2. Moisture Loss หรือ ผู้เขียนแปลความง่าย ๆ ก็คือ ความสูญเสียความชื้นของชิ้นงานหรือ ชิ้นส่วนนั้น ซึ่ง อาจระเหย , หรือคลายความชื้น , ตามทางธรรมชาติของวัตถุนั้น หรืออาจหายในกระบวนผลิต เช่น กระบวนการบดวัตถุดิบ รวมทั้งในกระบวนการถนอมอาหาร ต่าง ๆ เพื่อรักษาสภาพไม่ให้เกิดความสูญเสียด้านกายภาพตามมานั่นเอง ครับ ซึ่ง Moisture Loss เป็น Loss ที่เกิดขึ้นตามภาคทฤษฎี ซึ่งมีความซับซ้อนอย่างมาก เนื่องจากธรรมชาติ นั้นเป็นผู้กำหนดไว้ การแก้ไขปัญหาระดับนี้ จำเป็นที่จะต้องใช้ Management Tools ขั้น Advance tools เลยทีเดียว ซึ่งทางผู้เขียน ก็คงใช้ Management Tools ในระดับ PM Analysis หรือระดับ FMEA เพื่อนำมาพิสูจน์เหตุ วิเคราะห์เหตุ ทดลอง การจำลองกลไกต่าง ๆ เพื่อหาแนวทางการปรับปรุงที่สามารถตัดทอนกลไกทางธรรมชาติ ได้ เพื่อลดความสูญเสียที่เกิดขึ้น ถ้าในองค์กรอุตสาหกรรมระดับโลกนั้น จะมีหน่วยงานที่เรียกว่า R & D Department โดยเฉพาะ เพื่องานปรับปรุงที่สามารถเอาชนะกลไกทางธรรมชาติ ได้ เช่น ตู้เย็น No freeze ที่เกิดขึ้นในโลกนี้ ซึ่งได้สร้างกลไล เพื่อป้องกันทฤษฎีทางธรรมชาติไว้ว่า ช่องแช่แข็งนั้น ต้องมีน้ำแข็งเกาะผนัง ซึ่งปัจจุบันคงไม่มีให้เห็นอีกแล้ว นั้นก็คือตัวอย่างเล็กน้อยที่ทางผู้เขียนยกตัวอย่างขึ้ย เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนครับ
วันนี้ได้ถกประเด็นในเรื่อง Yield Loss ว่า Scope หรือ ขอบเขตของ Yield Loss อยู่ทั้งกระบวนการผลิต หรือ ครอบคลุมวัตถุดิบทั้งหมดภายในโรงงาน ซึ่งทางอาจารย์ที่ปรึกษา ได้ชี้แจงว่า ใน Yield Loss ที่เกิดขึ้นนั้น ในอุตสาหกรรม จะนับในส่วนเฉพาะ Production เท่านั้น (ขอบเขตดำเนินงานตามระดับ TPM Excellence Award) แต่ความสูญเสียกระบวนการจัดเก็บ (Storage) จะเป็นในส่วนของ Supply chain loss (ขอบเขตดำเนินงานตามระดับ TPM Consistent Award) ซึ่งจะมีการแบ่งแยกแบบชัดเจน ซึ่งทางผู้เขียนเองก็พึ่งเข้าในคำนิยามอย่างชัดเจนก็วันนี้เองครับ ว่ามันเป็นเช่นนั้นเอง ดังนั้นถ้าวัตถุดิบหายในกระบวนการรับเข้า , จัดเก็บ หรือการเก็บรักษานั้น Loss ที่เกิดขึ้นจะขอเรียกว่า Supply chain loss ครับ แต่ถ้าเริ่มเข้าสู่กระบวนการผลิต จนถึงออกเป็นผลิตภัณฑ์ ถ้าเกิดความสูญเสีย เรื่องน้ำหนัก ก็ขอเรียกว่า Yield Loss ครับ ซึ่งการแบ่งชัดเจนแบบนี้ ถ้าถามผู้เขียนว่ามันดีกว่าเดิมอย่างไร ผู้เขียนขอตอบเลยว่า Losses ก็ยังคงเท่าเดิม ครับ แต่การจัดการเรื่องการกำจัด Losses จะชัดเจนมากขึ้น เพราะว่า ถ้าเกิดความสูญเสียในกระบวนการผลิตนั้น หน่วยงาน FI Pillar (Focused Improvement) จะเป็นผู้ติดตามและเป็นเจ้าภาพในการปรับปรุงอย่างแน่นอน แต่ถ้าเกิดในรูปแบบ การจัดเก็บ การส่งมอบ การดูแลรักษาที่อยู่ในโกดัง สินค้า หรือไซโล นั้น หน่วยงานที่รับผิดชอบนั้นก็คือ หน่วยงาน SCM Pillar (Supply chain Management) นั่นเอง ซึ่งถ้าเป็นแบบนี้ กระบวนการแก้ไขปัญหาก็จะได้ถูกที่ ถูกหน่วยงานของมัน จึงทำให้เป็นเรื่องที่ง่ายลงมาทันทีเลยทีเดียวครับ เพราะว่าความถนัดของการบริหารจัดการของแต่ละหน่วยงานก็แตกต่างกันอยู่แล้วครับ เช่น หน่วนงานผลิต (FI Pillar ) กับหน่วยงานคลังสินค้า หรือ Logistic (SCM Pillar)
กลับมางานคงค้าง ในเรื่องของ Yield Loss ที่คงค้างกันไว้ครับ ก่อนจะยกตัวอย่างในเรื่องของ Yield Loss นั้น ทางผมขอแยก Yield Loss ออกเป็น 2 Section แล้วกัน และจะยกตัวอย่างของการปรับปรุงแต่ละ Section ครับ ซึ่งจากประสบการณ์ผู้เขียนนั้น จะแยกดังนี้
1. Physical Loss หรือ ผู้เขียนแปลความง่าย ๆ ก็คือ ความสูญเสียด้านกายภาพ หรือ ส่วนเนื้อที่หายไปจากกระบวนการจัดเก็บ ขั้นตอนการผลิต ที่นี้ผู้เขียนขอยกตัวอย่างที่เห็นชัดเจน คือ ในอุตสาหกรรมงานงานปั๊ม Part ต่าง ๆ กันดีกว่าครับ ในทุกอุตสาหกรรมการปั๊มชิ้นส่วนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น งานปั๊มชิ้นส่วนรองเท้าหุ้มส้น งานปั๊มชิ้นส่วนเหล็ก ซึ่งจะมีความสูญเสียด้าน Yield Loss เป็นจำนวนมาก เพราะว่าขอบชิ้นงานหรือขอบเหล็ก จะไม่สามารถนำมาปั๊มขึ้นรูปได้ วัตถุดิบส่วนนี้ก็จะเสียไปโดยปริยาย
ซึ่งในอุตสาหกรรมยานยนต์นั้น ได้มีการปรับปรุง โดยมีการออกแบบและลงทุนในการรับวัตถุดิบ จากเดิมเป็นแผ่นเหล็กรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือ รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งจะมีเศษ scrap จำนวนมาก เปลี่ยนเป็นการรับวัตถุดิบในรูปแบบเหล็กแถบม้วน ถ้าท่านผู้อ่านนึกภาพไม่ออก ก็ให้นึกถึง รูปแบบของแท่นเทปใส และมีวัสดุเป็นเหล็กแถบม้วน แทน ซึ่งแทนที่ เศษ scrap จะมีจำนวนมาก แต่ลักษณะของการใช้งาน เหล็กแถบม้วนเศษ scrap จะลดลงทันที อีกทั้งยังสามารถป้อนชิ้นงานได้อย่างรวดเร็วกว่า เหล็กรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า อย่างแน่นอนครับ
Management Tools ไม่ยากอย่างที่คิด : ตอน เรามาทำความรู้จัก Yield Loss กันดีกว่า ครับ เพื่อการพัฒนาในธุรกิจ
กลับมางานคงค้าง ในเรื่องของ Yield Loss ที่คงค้างกันไว้ครับ Yield ในภาษาอังกฤษ แปลว่า ยินยอม, การละทิ้ง , ผลผลิต และถ้ามารวมกับคำว่า Yield loss ทางผู้เขียนก็จะให้แปลความหมายคำว่ า การยินยอมให้เกิดความสูญเสียในกระบวนการผลิต หรือ ความสูญเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิต นั่นเอง ซึ่ง ถ้าให้แปลตามรูปแบบในส่วนของกระบวนการผลิต คือ การใช้ Raw material เข้าไปในกระบวนการผลิต 100 กิโลกรัม สินค้าสำเร็จรูปก็อยากให้ได้ 100 กิโลกรัมนั้นเอง แต่กระบวนการผลิตจริงในอุตสาหกรรม คงแทบเป็นไปไม่ได้ อย่างแน่นอน มันเกิดความสูญเสียในหลาย ๆ เช่น การหกหล่น , การระเหยจากการจัดเก็บ , การเน่าเสีย , การสูญเสียจาการแปรรูป และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่ง โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ จึงให้ความสำคัญต่ Yield Loss อย่าแน่นอน เพราะว่าเป็นการสูญเสีย Raw material นั้น เปรียบเสมือน การสูญหายของต้นทุนหลัก เลยทีเดียว ถ้าให้ผมยกตัวอย่างง่าย ๆ และใกล้ตัว นั้นก็คือ วันนึงเราไปจ่ายตลาด ต้องการซื้อปลาเป็น ๆ 1 ตัว ซึ่งราคากิโลกรัมละ 100 บาท แม่ค้าก็ชั่ง พบว่า น้ำหนักปลานั้น 2 กิโลกรัม จากนั้นก็ปล่อยให้แม่ค้า ดำเนินการตัดแต่ง ซึ่ง แม่ค้าก็ได้ตัดไส้ปลา เหงือก , หาง , ถอดเกร็ดปลา , เลาะก้างกลาง , ตัดครีบ , เลือดที่ไหลออกจากตัวปลา , จากนั้นก็ดำเนินการใส่ถุง และส่งให้เรากลับบ้าน ทางผู้เขียนจึงกลับมาชั่งเนื้อปลากอีกครั้ง ซึ่งพบว่า น้ำหนักเหลือเพียง 1.6 กิโลกรัม นั่นก็แสดงว่า Yield Loss นั้น สูงถึง 20 % เลยทีเดียว และถ้าผู้เขียนต้องการนำปลา ไปจัดทำ ปลาแดดเดียวทอดขาย ก็ต้องเอาไปตากแดด เพื่อให้เนื้อปลาแห้ง จากนั้นก็นำมา ทอดในน้ำมัน สุดท้ายเนื้อปลาก็จะเหลือน้ำหนักเพียง 0.8 กิโลกรัม แสดว่า Yield Loss นั้นสูงถึง 60 % เลยทีเดียว ครับ ดังนั้น การขายปลาแดดเดียวทอดแล้วนั้น ก็คงไม่ต่ำกว่า กิโลกรัมละ 400 เป็นอย่างแน่นอน ครับ ถ้ายิ่งถ้าเป็นอุตสาหกรรม ที่มีต้นทุนทางด้าน Raw material เป็นส่วนใหญ่ ก็คงเป็นประเด็นอย่างแน่นอน เพราะว่า กำไรหรือ การควบคุมต้นทุนนั้น จะเป็นเรื่องที่ทำได้ยากยิ่งอย่างแน่นอน
ถ้าให้ผู้เขียนยกตัวอย่าง บริษัท ฯ ที่มี ต้นทุนหลัก เป็น Raw material ก็คือ บริษัท ฯ ที่เป็นลักษณะนำมาผสม แต่ไม่ได้นำมาแปรรูป ซึ่ง โดยทางผู้เขียนขอยกตัวอย่างเช่น บริษัท ฯ ปุ๋ยเม็ด , น้ำตาล , อาหารสัตว์ , ข้าวสาร , ซึ่งแน่นอน วัตถุดิบเหล่านี้จะเป็นต้นทุนของบริษัท มากกว่า 90 % อย่างแน่นอน ซึ่ง ถ้าชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ นั่นก็คือ 90 % ของ Manufacturing Cost ครับ และถ้าผมยกบางบริษัท ฯ อื่นที่ มีต้นทุนหลัก ไม่ใช่วัตถุดิบครับ นั่นก็คือ อุตสาหกรรมแปรรูปนั่นเอง ซึ่งทางผมขอยกตัวอย่าง อุตสาหกรรม ยานยนต์ ซึ่ง เม็ดพลาสติก , เหล็ก , สี หรือ ส่วนประกอบอื่น ๆ ในรถยนต์นั้น มีราคาที่ต่ำ เมื่อผ่านกระบวนการแปรรูปออกมาเป็นชิ้นส่วนยานยนต์นั้น จะมีมูลค่าสูงมาก เช่น เหล็กกิโลกรัมละ 25 บาท เมื่อผ่านการปั๊มขึ้นรูป และผ่านการฉีดและอบสี ราคาสินค้าชั้นนั้น จะมีมูลค่ามากกว่า 10 -15 เท่าตัวเลยทีเดียว ซึ่ง Manufacturing Cost ของบริษัท ฯ เหล่านี้ Raw material อย่างเป็นเพียงแค่ 30 - 40 % ของ Manufacturing Cost เท่านั้นเองครับ
ดังนั้น Yield Loss อาจเป็น Major Loss ที่ใหญ่ที่สุดของบริษัท ฯ นั้น หรืออาจจะเป็น Minor Loss มันก็ขึ้นอยู่กับธุรกิจของแต่ละบริษัท นั่นเองครับ แต่อย่างไรมันก็คือ ความสูญเสีย ที่ทางโรงงานอุตสหกรรม ต้องมีการกำจัดให้ต่ำที่สุด เพื่อให้สามารถแข่งขันทางธุรกิจได่ต่อไป
สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านที่น่ารักทุกท่าน กลับมาว่ากันต่อเรื่องที่ค้างคานั่นคือ Yield Loss นั่นเองครับ แต่ก่อนจะเข้าสู่เนื้อหาหรือตัวอย่าง ทางผู้เขียนได้มีประสบการณ์ที่เป็น Case study ครั้งหนึ่งมาเล่าให้ฟังครับ ในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมานั้นทางผู้เขียนได้เริ่ม Start Project กับน้อง ๆ กลุ่มหนึ่ง ซึ่งทางผู้เขียน ต้องการทดลองหรือสร้างกระบวนการพิสูจน์ตามภาคทฤษฎี เพื่อหาแนวทางของการปรับปรุง ซึ่งการค้นหา Method ใหม่ ๆ จะเอาชนะภาคทฤษฎีนั้น จำเป็นที่จะต้องใช้ Management Tools ขั้นสูงหรือที่เรียกว่า PM Analysis ซึ่งเป็น Advance tools เลยก็ว่าได้ หลังจากที่ได้ดำเนินการทดลอง และพิสูจน์ จนได้ผลการทดลองที่เป็นหน้าพอใจ และ เมื่อมีการนำเสนอผลงานกลับพบว่า การเสนอผลงานนั้นมีข้อตำหนิ หรือข้อขัดแย้งกับ ท่านผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหลาย ซึ่งทางผู้เขียนก็ต้องกลับมาทบทวนแล้วว่า การนำเสนอบางครั้ง อาจจำเป็นที่จะต้องกล่าวที่มาและที่ไป ของ Management Tools เพื่อให้ระดับความเข้าใจของ ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหลาย นั้นเข้าใจ Objective ของแต่ละ Project นั้นเลยทีเดียว ซึ่งคงเป็นบทเรียนของทางผู้เขียนเองว่า ระดับความเข้าใจของผู้ฟังนั้น มีหลายระดับ ก็เหมือนกับ บัวในบ่อน้ำที่มีหลายระดับ ดังนั้น ถ้าผู้เขียนมีโอกาศได้ทำ Project กับน้อง ๆ ชุดใหม่ ก็คงต้องทำ Project ของบัวระดับนั้นพอ เพื่อลดความขัดแย้งจนที่ส่งผลกระทบต่อน้อง ๆ ที่ทำ Project ต่อไปครับ ( ต้องขออภัยจริง ๆ )
กลับมางานคงค้าง ในเรื่องของ Yield Loss ที่คงค้างกันไว้ครับ ก่อนจะยกตัวอย่างในเรื่องของ Yield Loss นั้น ทางผมขอแยก Yield Loss ออกเป็น 2 Section แล้วกัน และจะยกตัวอย่างของการปรับปรุงแต่ละ Section ครับ ซึ่งจากประสบการณ์ผู้เขียนนั้น จะแยกดังนี้
1. Physical Loss หรือ ผู้เขียนแปลความง่าย ๆ ก็คือ ความสูญเสียด้านกายภาพ หรือ ส่วนเนื้อที่หายไปจากกระบวนการจัดเก็บ ขั้นตอนการผลิต ขั้นตอนการเก็บรักษา รวมถึงการส่งมอบเลยทีเดียวครับ ซึ่ง Physical Loss นั้นคงไม่ยากที่จะใช้ Management Tools ขั้นกลาง มาปรับปรุงหรือ แก้ไขปัญหาได้ครับ ทางผู้เขียนอาจจะแนะนำการใช้ Why why analysis หรือ fishbone diagram เข้ามาวิเคราะห์สาเหตุ เพื่อหาแนวทางการปรับปรุง ซึ่งถือว่าเป็น Management Tools ที่ได้รับความนิยมและเชี่ยวชาญ ของท่านผู้อ่านหลาย ๆ ท่านครับ
2. Moisture Loss หรือ ผู้เขียนแปลความง่าย ๆ ก็คือ ความสูญเสียความชื้นของชิ้นงานหรือ ชิ้นส่วนนั้น ซึ่ง อาจระเหย , หรือคลายความชื้น , ตามทางธรรมชาติของวัตถุนั้น หรืออาจหายในกระบวนผลิต เช่น กระบวนการบดวัตถุดิบ รวมทั้งในกระบวนการถนอมอาหาร ต่าง ๆ เพื่อรักษาสภาพไม่ให้เกิดความสูญเสียด้านกายภาพตามมานั่นเอง ครับ ซึ่ง Moisture Loss เป็น Loss ที่เกิดขึ้นตามภาคทฤษฎี ซึ่งมีความซับซ้อนอย่างมาก เนื่องจากธรรมชาติ นั้นเป็นผู้กำหนดไว้ การแก้ไขปัญหาระดับนี้ จำเป็นที่จะต้องใช้ Management Tools ขั้น Advance tools เลยทีเดียว ซึ่งทางผู้เขียน ก็คงใช้ Management Tools ในระดับ PM Analysis หรือระดับ FMEA เพื่อนำมาพิสูจน์เหตุ วิเคราะห์เหตุ ทดลอง การจำลองกลไกต่าง ๆ เพื่อหาแนวทางการปรับปรุงที่สามารถตัดทอนกลไกทางธรรมชาติ ได้ เพื่อลดความสูญเสียที่เกิดขึ้น ถ้าในองค์กรอุตสาหกรรมระดับโลกนั้น จะมีหน่วยงานที่เรียกว่า R & D Department โดยเฉพาะ เพื่องานปรับปรุงที่สามารถเอาชนะกลไกทางธรรมชาติ ได้ เช่น ตู้เย็น No freeze ที่เกิดขึ้นในโลกนี้ ซึ่งได้สร้างกลไล เพื่อป้องกันทฤษฎีทางธรรมชาติไว้ว่า ช่องแช่แข็งนั้น ต้องมีน้ำแข็งเกาะผนัง ซึ่งปัจจุบันคงไม่มีให้เห็นอีกแล้ว นั้นก็คือตัวอย่างเล็กน้อยที่ทางผู้เขียนยกตัวอย่างขึ้ย เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนครับ
วันนี้ได้ถกประเด็นในเรื่อง Yield Loss ว่า Scope หรือ ขอบเขตของ Yield Loss อยู่ทั้งกระบวนการผลิต หรือ ครอบคลุมวัตถุดิบทั้งหมดภายในโรงงาน ซึ่งทางอาจารย์ที่ปรึกษา ได้ชี้แจงว่า ใน Yield Loss ที่เกิดขึ้นนั้น ในอุตสาหกรรม จะนับในส่วนเฉพาะ Production เท่านั้น (ขอบเขตดำเนินงานตามระดับ TPM Excellence Award) แต่ความสูญเสียกระบวนการจัดเก็บ (Storage) จะเป็นในส่วนของ Supply chain loss (ขอบเขตดำเนินงานตามระดับ TPM Consistent Award) ซึ่งจะมีการแบ่งแยกแบบชัดเจน ซึ่งทางผู้เขียนเองก็พึ่งเข้าในคำนิยามอย่างชัดเจนก็วันนี้เองครับ ว่ามันเป็นเช่นนั้นเอง ดังนั้นถ้าวัตถุดิบหายในกระบวนการรับเข้า , จัดเก็บ หรือการเก็บรักษานั้น Loss ที่เกิดขึ้นจะขอเรียกว่า Supply chain loss ครับ แต่ถ้าเริ่มเข้าสู่กระบวนการผลิต จนถึงออกเป็นผลิตภัณฑ์ ถ้าเกิดความสูญเสีย เรื่องน้ำหนัก ก็ขอเรียกว่า Yield Loss ครับ ซึ่งการแบ่งชัดเจนแบบนี้ ถ้าถามผู้เขียนว่ามันดีกว่าเดิมอย่างไร ผู้เขียนขอตอบเลยว่า Losses ก็ยังคงเท่าเดิม ครับ แต่การจัดการเรื่องการกำจัด Losses จะชัดเจนมากขึ้น เพราะว่า ถ้าเกิดความสูญเสียในกระบวนการผลิตนั้น หน่วยงาน FI Pillar (Focused Improvement) จะเป็นผู้ติดตามและเป็นเจ้าภาพในการปรับปรุงอย่างแน่นอน แต่ถ้าเกิดในรูปแบบ การจัดเก็บ การส่งมอบ การดูแลรักษาที่อยู่ในโกดัง สินค้า หรือไซโล นั้น หน่วยงานที่รับผิดชอบนั้นก็คือ หน่วยงาน SCM Pillar (Supply chain Management) นั่นเอง ซึ่งถ้าเป็นแบบนี้ กระบวนการแก้ไขปัญหาก็จะได้ถูกที่ ถูกหน่วยงานของมัน จึงทำให้เป็นเรื่องที่ง่ายลงมาทันทีเลยทีเดียวครับ เพราะว่าความถนัดของการบริหารจัดการของแต่ละหน่วยงานก็แตกต่างกันอยู่แล้วครับ เช่น หน่วนงานผลิต (FI Pillar ) กับหน่วยงานคลังสินค้า หรือ Logistic (SCM Pillar)
กลับมางานคงค้าง ในเรื่องของ Yield Loss ที่คงค้างกันไว้ครับ ก่อนจะยกตัวอย่างในเรื่องของ Yield Loss นั้น ทางผมขอแยก Yield Loss ออกเป็น 2 Section แล้วกัน และจะยกตัวอย่างของการปรับปรุงแต่ละ Section ครับ ซึ่งจากประสบการณ์ผู้เขียนนั้น จะแยกดังนี้
1. Physical Loss หรือ ผู้เขียนแปลความง่าย ๆ ก็คือ ความสูญเสียด้านกายภาพ หรือ ส่วนเนื้อที่หายไปจากกระบวนการจัดเก็บ ขั้นตอนการผลิต ที่นี้ผู้เขียนขอยกตัวอย่างที่เห็นชัดเจน คือ ในอุตสาหกรรมงานงานปั๊ม Part ต่าง ๆ กันดีกว่าครับ ในทุกอุตสาหกรรมการปั๊มชิ้นส่วนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น งานปั๊มชิ้นส่วนรองเท้าหุ้มส้น งานปั๊มชิ้นส่วนเหล็ก ซึ่งจะมีความสูญเสียด้าน Yield Loss เป็นจำนวนมาก เพราะว่าขอบชิ้นงานหรือขอบเหล็ก จะไม่สามารถนำมาปั๊มขึ้นรูปได้ วัตถุดิบส่วนนี้ก็จะเสียไปโดยปริยาย
ซึ่งในอุตสาหกรรมยานยนต์นั้น ได้มีการปรับปรุง โดยมีการออกแบบและลงทุนในการรับวัตถุดิบ จากเดิมเป็นแผ่นเหล็กรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือ รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งจะมีเศษ scrap จำนวนมาก เปลี่ยนเป็นการรับวัตถุดิบในรูปแบบเหล็กแถบม้วน ถ้าท่านผู้อ่านนึกภาพไม่ออก ก็ให้นึกถึง รูปแบบของแท่นเทปใส และมีวัสดุเป็นเหล็กแถบม้วน แทน ซึ่งแทนที่ เศษ scrap จะมีจำนวนมาก แต่ลักษณะของการใช้งาน เหล็กแถบม้วนเศษ scrap จะลดลงทันที อีกทั้งยังสามารถป้อนชิ้นงานได้อย่างรวดเร็วกว่า เหล็กรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า อย่างแน่นอนครับ