ต่อจากกระทู้ที่แล้ว
https://ppantip.com/topic/37136985
หลังจากปะทุอย่างหนัก ขณะนี้ดูเหมือนว่าอากุงจะลดความรุนแรงลงไป ซึ่งดูจากกราฟจำนวนครั้งของการสั่นสะเทือนต่อวัน
letusan = การปะทุ
hembusan = ระเบิด
microtremor = การสั่นสะเทือนขนาดเล็ก
tremor non-harmonik = การสั่นสะเทือนที่ไม่สอดคล้องกัน
tremor harmonik = การสั่นสะเทือนที่สอดคล้องกัน
low frequency = ความถี่ต่ำ
vulkanik dangkai = เกี่ยวกับภูเขาไฟ ในระดับตื้น
vulkanik dalam = เกี่ยวกับภูเขาไฟ ภายในภูเขาไฟ
gempa terasa = แผ่นดินไหวที่รู้สึก
tektonic lokal เกี่ยวกับการก่อสร้าง ท้องถิ่น
tektonic jauh เกี่ยวกับการก่อสร้าง ห่างไกล
ในวันที่ 12 ธ.ค.มีการพ่นควันออกมาถึง 40 ครั้ง ควันสีเทาพุ่งขึ้นสูงถึง 2500 เมตร
ขณะที่รหัสการบินอยู่ที่สีส้ม
สนามบินบนบาหลีและล็อมบ็อกยังเปิดทำการตามปกติ
ส่วนระดับการเตือนภัยจากภูเขาไฟยังคงอยู่ที่ระดับ 4 (สูงสุด)
https://www.express.co.uk/news/world/891304/Bali-volcano-eruption-latest-update-video-Mount-Agung
ขณะที่ข้อมูลจาก PVMBG ซึ่งได้ศึกษาเจาะลึกไปภายในภูเขาไฟได้ให้ข้อมูลว่า ขณะนี้ภายในปล่องภูเขาไฟปกคลุมด้วยลาวาโดมได้กลายสภาพเกิดเป็นทะเลสาปลาวา
แต่ว่ามีปริมาณต่ำกว่าที่เคยคาดการณ์ไว้ และยังห่างจากการเติมเต็มปล่องภูเขาไฟทั้งหมด โดยนักวิทยาศาสตร์ได้คาดเดาสถานการณ์ต่อไปไว้ 3 แนวทาง
- การปะทุได้หยุดลง ไม่มีแก๊ซเหลือมากพอที่จะนำแมกมาขึ้นสู่พื้นผิวที่จะนำไปสู่การพ่นหรือระเบิด
- มีแก๊ซเล็กน้อยที่ยังมีพลัง และผลักดันให้เกิดการพ่นออกมา แต่ลาวาจะพุ่งออกช้าๆอย่างต่อเนื่องโดยไม่เกิดการระเบิดครั้งใหญ่ ในสถานการณ์นี้ อันตรายจะเกิดขึ้นเมื่อปล่องทั้งหมดถูกเติมเต็ม
- ลาวาแข็งตัวเป็นปลั๊กอุดรอยแตกไว้ และแก๊ซถูกสะสมอยู่ข้างใต้ จนกระทั่งความดันสะสมจนถึงวิกฤติซึ่งจะนำไปสู่การระเบิดอย่างรุนแรง
https://www.volcanodiscovery.com/agung/news/66532/Gunung-Agung-volcano-Bali-Indonesia-flat-lava-dome-occupying-summit-crater.html
ภาพถ่ายดาวเทียมล่าสุด เมื่อวันที่ 14 ธ.ค. 2017
คลิปภาพภายในปล่องของอากุง เมื่อวันที่ 13 ธ.ค.2017
(ข้อมูลช่วงที่ผ่านมาเปลี่ยนแปลงค่อนข้างช้า แต่หากสถานการณ์เปลี่ยนแปลงก็จะนำข่าวมาแจ้งให้ชุมชนหว้ากอทราบต่อไป)
ติดตามการระเบิดของภูเขาไฟอากุง ในบาหลีประเทศอินโดนีเซีย (2)
หลังจากปะทุอย่างหนัก ขณะนี้ดูเหมือนว่าอากุงจะลดความรุนแรงลงไป ซึ่งดูจากกราฟจำนวนครั้งของการสั่นสะเทือนต่อวัน
letusan = การปะทุ
hembusan = ระเบิด
microtremor = การสั่นสะเทือนขนาดเล็ก
tremor non-harmonik = การสั่นสะเทือนที่ไม่สอดคล้องกัน
tremor harmonik = การสั่นสะเทือนที่สอดคล้องกัน
low frequency = ความถี่ต่ำ
vulkanik dangkai = เกี่ยวกับภูเขาไฟ ในระดับตื้น
vulkanik dalam = เกี่ยวกับภูเขาไฟ ภายในภูเขาไฟ
gempa terasa = แผ่นดินไหวที่รู้สึก
tektonic lokal เกี่ยวกับการก่อสร้าง ท้องถิ่น
tektonic jauh เกี่ยวกับการก่อสร้าง ห่างไกล
ในวันที่ 12 ธ.ค.มีการพ่นควันออกมาถึง 40 ครั้ง ควันสีเทาพุ่งขึ้นสูงถึง 2500 เมตร
ขณะที่รหัสการบินอยู่ที่สีส้ม
สนามบินบนบาหลีและล็อมบ็อกยังเปิดทำการตามปกติ
ส่วนระดับการเตือนภัยจากภูเขาไฟยังคงอยู่ที่ระดับ 4 (สูงสุด)
https://www.express.co.uk/news/world/891304/Bali-volcano-eruption-latest-update-video-Mount-Agung
ขณะที่ข้อมูลจาก PVMBG ซึ่งได้ศึกษาเจาะลึกไปภายในภูเขาไฟได้ให้ข้อมูลว่า ขณะนี้ภายในปล่องภูเขาไฟปกคลุมด้วยลาวาโดมได้กลายสภาพเกิดเป็นทะเลสาปลาวา
แต่ว่ามีปริมาณต่ำกว่าที่เคยคาดการณ์ไว้ และยังห่างจากการเติมเต็มปล่องภูเขาไฟทั้งหมด โดยนักวิทยาศาสตร์ได้คาดเดาสถานการณ์ต่อไปไว้ 3 แนวทาง
- การปะทุได้หยุดลง ไม่มีแก๊ซเหลือมากพอที่จะนำแมกมาขึ้นสู่พื้นผิวที่จะนำไปสู่การพ่นหรือระเบิด
- มีแก๊ซเล็กน้อยที่ยังมีพลัง และผลักดันให้เกิดการพ่นออกมา แต่ลาวาจะพุ่งออกช้าๆอย่างต่อเนื่องโดยไม่เกิดการระเบิดครั้งใหญ่ ในสถานการณ์นี้ อันตรายจะเกิดขึ้นเมื่อปล่องทั้งหมดถูกเติมเต็ม
- ลาวาแข็งตัวเป็นปลั๊กอุดรอยแตกไว้ และแก๊ซถูกสะสมอยู่ข้างใต้ จนกระทั่งความดันสะสมจนถึงวิกฤติซึ่งจะนำไปสู่การระเบิดอย่างรุนแรง
https://www.volcanodiscovery.com/agung/news/66532/Gunung-Agung-volcano-Bali-Indonesia-flat-lava-dome-occupying-summit-crater.html
ภาพถ่ายดาวเทียมล่าสุด เมื่อวันที่ 14 ธ.ค. 2017
คลิปภาพภายในปล่องของอากุง เมื่อวันที่ 13 ธ.ค.2017
(ข้อมูลช่วงที่ผ่านมาเปลี่ยนแปลงค่อนข้างช้า แต่หากสถานการณ์เปลี่ยนแปลงก็จะนำข่าวมาแจ้งให้ชุมชนหว้ากอทราบต่อไป)