.
รอยเท้าแมวประทับไว้บนกระเบื้องมุงหลังคาในอดีตที่ Gloucester
คาดว่าแมวทำ/ทิ้งร่องรอยไว้ในช่วงอาณาจักรโรมันอายุกว่า 2,000 ปี
กระเบื้องมุงหลังคาเหล่านี้ถูกขุดขึ้นมาตอนรื้อถนน Berkeley ในปี 1969
แต่รอยเท้าแมวเพิ่งจะค้นพบโดยนักโบราณคดี Gloucester City Museum
หลังจากตรวจสอบเศษกระเบื้องมุงหลังคายุคโรมันหลายพันชิ้น
คาดว่าแมวเดินเหยียบบนกระเบื้องที่ยังแห้งหมาด ๆ อยู่
ในระหว่างที่กำลังวางบนพื้นดินเพื่อตากให้แห้งราว 100 ปีก่อนคริสตศักราช
ก่อนที่จะรวบรวมแล้วนำไปเผาเพื่อให้แข็งแกร่งขึ้นกว่าเดิม
กระเบื้องมุงหลังคาแบบ
แผ่นสี่เหลี่ยม Tegula
เคยถูกใช้มุงหลังคาอาคารหลังหนึ่ง
ซึ่งตอนนี้อาคารดังกล่าวปรักหักพังไม่มีสภาพเหลืออยู่แล้ว
จนถูกฝังอยู่ในดินเพิ่งจะขุคค้นเจอตอนรื้อถนน Berkeley ในเขต Gloucester
ตามคำให้สัมภาษณ์ของโฆษกพิพิธภัณฑ์
Lise Noakes สมาชิกสภา Gloucester City Council กล่าวว่า
“ เป็น
การค้นพบที่น่ารักมาก
เพราะบนกระเบื้องมุงหลังคา Roman Gloucester
มักจะพบรอยเท้าสุนัข รอยเท้าคน แม้กระทั่งรอยเท้านกพิราบ
แต่รอยเท้าแมวหายากมาก "
.
หมายเหตุ
การค้นพบครั้งนี้จะนำไปศึกษาร่องรอยชั้นดินทางธรณีวิทยา
ซึ่งจะนำไปสู่การค้นหาแหล่งดินที่นำมาผลิตกระเบื้อง
ตลอดจนส่วนประกอบ/ส่วนผสมต่าง ๆ ของดินที่มาทำกระเบื้องมุงหลังคา
เทคโนโลยีการใช้ความร้อนในการเผากระเบื้องของชาวโรมัน
รอยเท้าแมวใช้ศึกษาเปรียบเทียบขนาด/วิวัฒนาการแมวได้
รวมทั้งยืนยันหลักฐานว่า
ชาวโรมันเป็นทาสแมว ตั้งแต่ 2,000 ปีก่อน
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/XPVUHQ
https://goo.gl/LM3qrS
https://goo.gl/h8wG99
รอยเท้าข้างขวาของคน อายุราว 160-180 ปีก่อนคริสตศักราช
Fishbourne Roman Palace museum
Imbrices และ tegulae (ครอบหลังและกระเบื้อง) ในโรม ปี 2005
Gallo-Roman tegulae and imbrices - Museum of Feurs (France)
Imbrex and tegula roof in Marciana Alta on Elba (the far roof)
พบรอยเท้าแมวอายุกว่า 2,000 ปีบนกระเบื้องมุงหลังคา
รอยเท้าแมวประทับไว้บนกระเบื้องมุงหลังคาในอดีตที่ Gloucester
คาดว่าแมวทำ/ทิ้งร่องรอยไว้ในช่วงอาณาจักรโรมันอายุกว่า 2,000 ปี
กระเบื้องมุงหลังคาเหล่านี้ถูกขุดขึ้นมาตอนรื้อถนน Berkeley ในปี 1969
แต่รอยเท้าแมวเพิ่งจะค้นพบโดยนักโบราณคดี Gloucester City Museum
หลังจากตรวจสอบเศษกระเบื้องมุงหลังคายุคโรมันหลายพันชิ้น
คาดว่าแมวเดินเหยียบบนกระเบื้องที่ยังแห้งหมาด ๆ อยู่
ในระหว่างที่กำลังวางบนพื้นดินเพื่อตากให้แห้งราว 100 ปีก่อนคริสตศักราช
ก่อนที่จะรวบรวมแล้วนำไปเผาเพื่อให้แข็งแกร่งขึ้นกว่าเดิม
กระเบื้องมุงหลังคาแบบ แผ่นสี่เหลี่ยม Tegula
เคยถูกใช้มุงหลังคาอาคารหลังหนึ่ง
ซึ่งตอนนี้อาคารดังกล่าวปรักหักพังไม่มีสภาพเหลืออยู่แล้ว
จนถูกฝังอยู่ในดินเพิ่งจะขุคค้นเจอตอนรื้อถนน Berkeley ในเขต Gloucester
ตามคำให้สัมภาษณ์ของโฆษกพิพิธภัณฑ์
Lise Noakes สมาชิกสภา Gloucester City Council กล่าวว่า
“ เป็นการค้นพบที่น่ารักมาก
เพราะบนกระเบื้องมุงหลังคา Roman Gloucester
มักจะพบรอยเท้าสุนัข รอยเท้าคน แม้กระทั่งรอยเท้านกพิราบ
แต่รอยเท้าแมวหายากมาก "
หมายเหตุ
การค้นพบครั้งนี้จะนำไปศึกษาร่องรอยชั้นดินทางธรณีวิทยา
ซึ่งจะนำไปสู่การค้นหาแหล่งดินที่นำมาผลิตกระเบื้อง
ตลอดจนส่วนประกอบ/ส่วนผสมต่าง ๆ ของดินที่มาทำกระเบื้องมุงหลังคา
เทคโนโลยีการใช้ความร้อนในการเผากระเบื้องของชาวโรมัน
รอยเท้าแมวใช้ศึกษาเปรียบเทียบขนาด/วิวัฒนาการแมวได้
รวมทั้งยืนยันหลักฐานว่า ชาวโรมันเป็นทาสแมว ตั้งแต่ 2,000 ปีก่อน
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/XPVUHQ
https://goo.gl/LM3qrS
https://goo.gl/h8wG99