บริษัท KONGSBERG นอร์เวย์ได้รับการลงนามสัญญาจัดหาวงเงิน $77 million กับกระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียในการจัดหาระบบป้องกันภัยทางอากาศอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศพิสัยกลาง NASAMS (Norwegian Advanced Surface to Air Missile System)
โดยสัญญาประกอบด้วยการส่งมอบ radar ชุดแท่นยิง ศูนย์ควบคุมบังคับการ การฝึกและการสนับสนุนโลจิสติกส์
และยังสามารถรองรับระบบดาต้าลิงค์แบบ Link 16 ด้วยถ้าระบบที่อินโดนีเซียจัดหาเป็น NASAMS 2
NASAMS เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูงและเป็นระบบแยกส่วน modular ทำให้ลูกค้าสามารถเลือกระบบรุ่นต่างๆ มาใช้ได้ตามต้องการ
ซึ่งบริษัทไม่ได้เปิดเผยรายละเอียดของระบบที่เกี่ยวข้องในการจัดหาของอินโดนีเซีย
NASAMS MPQ-64F1 3D Radar vehicle
หรือจะใช้ EADS TRML-3D Radar vehicle แทนก็ได้
MSP500 electro-optical sensor
FDC Fire Distribution Center vehicle
การจัดหาครั้งนี้ไม่ได้รวมอาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่อากาศด้วย โดยทางอินโดนีเซียจะจัดหาแยกต่างหาก โดยแท่นยิง NASAMS สามารถใช้ร่วมกับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศได้หลายแบบ ดังนี้
1. AMRAAM นำวิถีด้วย Inertial navigation system และ Radar รุ่นยิงจากพื้นสู่อากาศ ระยะยิงอาจจะน้อยกว่าแบบยิงจากอากาศสู่อากาศ
AIM-120A/B: 55–75 km
AIM-120C-5: >105 km
AIM-120D (C-8): >180 km จริงๆ ทาง Raytheon ไม่เคยเปิดเผยระยะยิง น่าจะเป็นรุ่นที่อินโดจัดหาไปใช้มากที่สุด
2.AIM-9X : 35 km นำวิถีด้วยภาพความร้อน
3.ESSM : 50 km นำวิถีด้วย semi-active radar และ Mid-course update datalink
สหรัฐทดสอบ ESSM block2 ไปเมื่อหลายเดือนก่อน โดยหลักเปลี่ยนระบบนำวิถีใหม่เป็น dual-mode seeker เพิ่มระบบ two way data link และ Active Radar เข้ามา
https://www.kongsberg.com/en/kog/news/2017/october/indonesia%20selects%20nasams%20air%20defence%20system/
https://www.armyrecognition.com/october_2017_global_defense_security_news_industry/indonesia_selects_nasams_air_defence_system.html
อินโดนีเซียจัดหาระบบป้องกันภัยทางอากาศ NASAMS จากนอร์เวย์ วงเงิน $77 million
บริษัท KONGSBERG นอร์เวย์ได้รับการลงนามสัญญาจัดหาวงเงิน $77 million กับกระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียในการจัดหาระบบป้องกันภัยทางอากาศอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศพิสัยกลาง NASAMS (Norwegian Advanced Surface to Air Missile System)
โดยสัญญาประกอบด้วยการส่งมอบ radar ชุดแท่นยิง ศูนย์ควบคุมบังคับการ การฝึกและการสนับสนุนโลจิสติกส์
และยังสามารถรองรับระบบดาต้าลิงค์แบบ Link 16 ด้วยถ้าระบบที่อินโดนีเซียจัดหาเป็น NASAMS 2
NASAMS เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูงและเป็นระบบแยกส่วน modular ทำให้ลูกค้าสามารถเลือกระบบรุ่นต่างๆ มาใช้ได้ตามต้องการ
ซึ่งบริษัทไม่ได้เปิดเผยรายละเอียดของระบบที่เกี่ยวข้องในการจัดหาของอินโดนีเซีย
NASAMS MPQ-64F1 3D Radar vehicle
หรือจะใช้ EADS TRML-3D Radar vehicle แทนก็ได้
MSP500 electro-optical sensor
FDC Fire Distribution Center vehicle
การจัดหาครั้งนี้ไม่ได้รวมอาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่อากาศด้วย โดยทางอินโดนีเซียจะจัดหาแยกต่างหาก โดยแท่นยิง NASAMS สามารถใช้ร่วมกับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศได้หลายแบบ ดังนี้
1. AMRAAM นำวิถีด้วย Inertial navigation system และ Radar รุ่นยิงจากพื้นสู่อากาศ ระยะยิงอาจจะน้อยกว่าแบบยิงจากอากาศสู่อากาศ
AIM-120A/B: 55–75 km
AIM-120C-5: >105 km
AIM-120D (C-8): >180 km จริงๆ ทาง Raytheon ไม่เคยเปิดเผยระยะยิง น่าจะเป็นรุ่นที่อินโดจัดหาไปใช้มากที่สุด
2.AIM-9X : 35 km นำวิถีด้วยภาพความร้อน
3.ESSM : 50 km นำวิถีด้วย semi-active radar และ Mid-course update datalink
สหรัฐทดสอบ ESSM block2 ไปเมื่อหลายเดือนก่อน โดยหลักเปลี่ยนระบบนำวิถีใหม่เป็น dual-mode seeker เพิ่มระบบ two way data link และ Active Radar เข้ามา
https://www.kongsberg.com/en/kog/news/2017/october/indonesia%20selects%20nasams%20air%20defence%20system/
https://www.armyrecognition.com/october_2017_global_defense_security_news_industry/indonesia_selects_nasams_air_defence_system.html