สารานุกรมปืนในตอนนี้จะไม่มีประวัติเป็นนะครับเพราะต้องขุดเอาจากหลายที่บนอินเตอร์เน็ตเเละหนังสือเก่าๆหลายเล่ม
นับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นต้นมาปืนไรเฟิลแบบลูกเลื่อนก็เริ่มจะล้าสมัยลงแต่ก็ยังเป็นอาวุธประจำกายของเหล่าทหารราบทั่วโลกในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ในช่วงกลางและปลายสงครามนั้นเองก็เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาปืนไรเฟิลแบบกึ่งอัตโนมัติและอัตโนมัติเต็มรูปแบบเพื่อสร้างความได้เปรียบในการสู้รบ ไม่ใช่แค่เยอรมันนีที่พัฒนา stg 44 ขึ้นเพื่อเป็นไรเฟิลจู่โจมชนิดแรกเท่านั้นแต่ในเวลาไล่เลี่ยกันประเทศอื่นๆได้เริ่ม Project ไรเฟิลจู่โจมของตัวเองขึ้นมาด้วยเช่นกันโดยอิงจากแนวคิดของตัวเองและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวก่อนที่จะเข้าสู่ยุคสงครามเย็นที่ปืนไรเฟิลจู่โจมถูกกำหนดโดยมหาอำนาจตะวันตกและตะวันออกเท่านั้น ปืนที่ทุกท่านจะได้เห็นต่อไปนี้จะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของใครของมันจริงๆไม่ได้อ้างอิงจาก ชาติมหาอำนาจอื่นๆแต่เป็นการออกเเบบขึ้นมาเองทั้งหมด แต่ปืนส่วนใหญ่ในบทความนี้เป็นเพียงตัวต้นแบบและหลายกระบอกก็ไม่เคยได้รับการทดสอบในสนามรบจริง
1. Hyde 1944
ขนาดกระสุน .30 Cabine
บรรจุกระสุน 20 หรือ 30 นัด
ประเทศ สหรัฐ
2. STG 45 Kurz
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
3. Shpagin M1944
ขนาดกระสุน 7.62x41 mm
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ สหภาพโซเวียต
4. Erkki Lilja model 1944
ขนาดกระสุน 9x40mm Lilja
บรรจุกระสุน 20 หรือ 25 นัด
ปืนไรเฟิลจู่โจมตัวต้นแบบของฟินแลนด์กระบอกนี้ใช้กระสุนแบบพิเศษที่ไม่ค่อยจะได้เห็นกันมากนักด้วยการนำหัวกระสุนขนาด 9 มมมาใส่เอาไว้ในปลอกกระสุนไรเฟิลทำให้ได้มิติใหม่ของการใช้หัวกระสุนขนาดเล็กในปลอกกระสุนปืนยาว แต่ไม่มีใครรู้ถึงประสิทธิภาพในการสร้างความเสียหายให้กับทหารข้าศึกของมันเพราะตัวต้นแบบไม่กี่กระบอกที่ถูกผลิตขึ้นและกระสุนสำหรับใช้ยิงก็ไม่มีอีกแล้ว แต่ ดูจากปริมาณของดินปืนที่บรรจุเอาไว้ในปลอกกระสุนจะต้องให้พลังการยิงที่ดีกว่าปืนกลมือแน่นอน
ประเทศ ฟินแลนด์
5. ZK 421/ MK SS 42
ขนาดกระสุน 8x35mm Rapid
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เชโกสโลวาเกีย
6. Polte zk 423
ขนาดกระสุน 8x35mm Rapid หรือ 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เชโกสโลวาเกีย/เยอรมัน
7. Bulkin MODEL 1944 ( ผมเรียกมันว่า Soviet Bren gun )
ขนาดกระสุน 7.62x41 mm
บรรจุกระสุน 20 หรือ 30 นัด
ประเทศ สหภาพโซเวียต
8. Kuzmischeva 1944
ขนาดกระสุน 7.62x41 mm
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ สหภาพโซเวียต
9.Prilutsky M1944
ขนาดกระสุน 7.62x41 mm
บรรจุกระสุน 20 หรือ 30 นัด
ประเทศ สหภาพโซเวียต
10. Walther Karabiner 45
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
11. STG 44 Cabine (?)
ปืนกระบอกนี้คือ stg 44 ขนาดย่อส่วนแต่ไม่มีข้อมูลที่แน่ชัดว่าใครคือคนที่สร้างปืนชนิดนี้ขึ้นมาเเละมันมีอยู่กี่กระบอก แต่มีหลายคนสันนิษฐานว่ามันน่าจะเป็นรุ่นทดลองสำหรับหน่วยพลร่มของเยอรมัน
12. Tokarev AT-44
ขนาดกระสุน 7.62x41 mm
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ สหภาพโซเวียต
ปืนชนิดนี้เมื่อผลิตออกมาได้จำนวนหนึ่งแล้วก็ถูกส่งไปทดสอบในแนวรบตะวันออกโชคปี 1944 มันมี Option ที่ไม่ค่อยจะเป็นที่นิยมในสมัยนั้นคือมีช่องบรรจุอุปกรณ์ทำความสะอาดตัวปืนแบบสำเร็จรูปเอาไว้ในพานท้ายและคันยิงที่ในเวลาต่อมามันก็ถูกนำไปใช้ในปืนตระกูล M16 จนมีชื่อเสียงโด่งดัง แต่มันก็ไม่เป็นที่พอใจนักเมื่อผ่านการทดสอบในสนามรบจริงจนในที่สุดโครงการนี้ก็ถูกยกเลิกไป
13. Shmeisser MP45
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
14. Grossfuss STG 45
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
15. Mauser Gerat 06 บน / STG 45 (M) ล่าง
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 10 หรือ 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
ปืนไรเฟิลชนิดนี้ใช้ระบบ delayed blowback เพื่อลดความซับซ้อนในการผลิตและใช้ทรัพยากรน้อยกว่าในการสร้างขึ้นมา 1 กระบอกเมื่อเทียบกับ stg 44 เชื่อกันว่ามันได้รับการผลิตเพียง 30 กระบอกเท่านั้นและส่วนใหญ่ก็ไม่ได้รับการทดสอบเมื่อจบสงครามโลกครั้งที่ 2 วิศวกรในบริษัท Mauser ได้หลบหนีไปยังสเปนและทำงานที่นั่นอยู่พักใหญ่จนให้กำเนิดปืนไรเฟิล CETME ชื่อดังของสเปนจากนั้นเมื่อบริษัท hk ตั้งตัวได้ในเยอรมนีตะวันตกวิศวกรเหล่านั้นก็ได้กลับคืนสู่บ้านเพื่อสร้างปืนไรเฟิล G3 อันเลื่องชื่อ เพราะฉะนั้นกล่าวได้ว่าปืนไรเฟิลที่ถูกผลิตช่วงท้ายสงครามรุ่นนี้คือบรรพบุรุษของปืนไรเฟิลที่ใช้ระบบ delayed blowback ทั้งหมดที่มีอยู่ในปัจจุบัน
16. Knorr-Bremse Paratrooper
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
17. Wimmersperg SPZ-kr
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
กระสุนขนาด 7.62x41 mm ของโซเวียตเป็นกระสุนที่ถูกคิดค้นขึ้นสำหรับใช้ในโครงการสร้างปืนไรเฟิลจู่โจม ซึ่งก่อนที่จะมีกระสุนขนาด 7.62x39 mm นั้นมันคือกระสุนสำคัญในการสร้างร่วมกับตัวต้นแบบปืนไรเฟิลจู่โจมของโซเวียตก่อนที่จะได้ปรับปรุงและแก้ไขจนเป็นกระสุนขนาด 7.62x39 mm ที่มีอยู่อย่างมากมายในปัจจุบัน
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปืนเล็กยาวจู่โจมรุ่นต้นแบบในสหรัฐไม่ได้รับความสนใจมากนักเพราะพึ่งจะได้ใช้ปืนไรเฟิลอัตโนมัติอย่าง M1 Garand ที่มีประสิทธิภาพสูงในการสู้รบและหลังจบสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงสงครามเกาหลีและช่วงต้นสงครามเวียดนามหลักนิยมของกองทัพสหรัฐก็ยังคงเป็นปืนยาวใช้กระสุนขนาดใหญ่อยู่ไม่มีที่ว่างให้ไรเฟิลจู่โจมจนการมาถึงของปืนตระกูล AR 15 นั่นแหละ
สวัสดีคร้บ
สารานุกรมปืนตอนที่ 47 รวมปืนไรเฟิลจู่โจมหายากจากยุคสงครามโลกครั้งที่ 2
นับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นต้นมาปืนไรเฟิลแบบลูกเลื่อนก็เริ่มจะล้าสมัยลงแต่ก็ยังเป็นอาวุธประจำกายของเหล่าทหารราบทั่วโลกในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ในช่วงกลางและปลายสงครามนั้นเองก็เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาปืนไรเฟิลแบบกึ่งอัตโนมัติและอัตโนมัติเต็มรูปแบบเพื่อสร้างความได้เปรียบในการสู้รบ ไม่ใช่แค่เยอรมันนีที่พัฒนา stg 44 ขึ้นเพื่อเป็นไรเฟิลจู่โจมชนิดแรกเท่านั้นแต่ในเวลาไล่เลี่ยกันประเทศอื่นๆได้เริ่ม Project ไรเฟิลจู่โจมของตัวเองขึ้นมาด้วยเช่นกันโดยอิงจากแนวคิดของตัวเองและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวก่อนที่จะเข้าสู่ยุคสงครามเย็นที่ปืนไรเฟิลจู่โจมถูกกำหนดโดยมหาอำนาจตะวันตกและตะวันออกเท่านั้น ปืนที่ทุกท่านจะได้เห็นต่อไปนี้จะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของใครของมันจริงๆไม่ได้อ้างอิงจาก ชาติมหาอำนาจอื่นๆแต่เป็นการออกเเบบขึ้นมาเองทั้งหมด แต่ปืนส่วนใหญ่ในบทความนี้เป็นเพียงตัวต้นแบบและหลายกระบอกก็ไม่เคยได้รับการทดสอบในสนามรบจริง
1. Hyde 1944
ขนาดกระสุน .30 Cabine
บรรจุกระสุน 20 หรือ 30 นัด
ประเทศ สหรัฐ
2. STG 45 Kurz
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
3. Shpagin M1944
ขนาดกระสุน 7.62x41 mm
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ สหภาพโซเวียต
4. Erkki Lilja model 1944
ขนาดกระสุน 9x40mm Lilja
บรรจุกระสุน 20 หรือ 25 นัด
ปืนไรเฟิลจู่โจมตัวต้นแบบของฟินแลนด์กระบอกนี้ใช้กระสุนแบบพิเศษที่ไม่ค่อยจะได้เห็นกันมากนักด้วยการนำหัวกระสุนขนาด 9 มมมาใส่เอาไว้ในปลอกกระสุนไรเฟิลทำให้ได้มิติใหม่ของการใช้หัวกระสุนขนาดเล็กในปลอกกระสุนปืนยาว แต่ไม่มีใครรู้ถึงประสิทธิภาพในการสร้างความเสียหายให้กับทหารข้าศึกของมันเพราะตัวต้นแบบไม่กี่กระบอกที่ถูกผลิตขึ้นและกระสุนสำหรับใช้ยิงก็ไม่มีอีกแล้ว แต่ ดูจากปริมาณของดินปืนที่บรรจุเอาไว้ในปลอกกระสุนจะต้องให้พลังการยิงที่ดีกว่าปืนกลมือแน่นอน
ประเทศ ฟินแลนด์
5. ZK 421/ MK SS 42
ขนาดกระสุน 8x35mm Rapid
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เชโกสโลวาเกีย
6. Polte zk 423
ขนาดกระสุน 8x35mm Rapid หรือ 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เชโกสโลวาเกีย/เยอรมัน
7. Bulkin MODEL 1944 ( ผมเรียกมันว่า Soviet Bren gun )
ขนาดกระสุน 7.62x41 mm
บรรจุกระสุน 20 หรือ 30 นัด
ประเทศ สหภาพโซเวียต
8. Kuzmischeva 1944
ขนาดกระสุน 7.62x41 mm
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ สหภาพโซเวียต
9.Prilutsky M1944
ขนาดกระสุน 7.62x41 mm
บรรจุกระสุน 20 หรือ 30 นัด
ประเทศ สหภาพโซเวียต
10. Walther Karabiner 45
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
11. STG 44 Cabine (?)
ปืนกระบอกนี้คือ stg 44 ขนาดย่อส่วนแต่ไม่มีข้อมูลที่แน่ชัดว่าใครคือคนที่สร้างปืนชนิดนี้ขึ้นมาเเละมันมีอยู่กี่กระบอก แต่มีหลายคนสันนิษฐานว่ามันน่าจะเป็นรุ่นทดลองสำหรับหน่วยพลร่มของเยอรมัน
12. Tokarev AT-44
ขนาดกระสุน 7.62x41 mm
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ สหภาพโซเวียต
ปืนชนิดนี้เมื่อผลิตออกมาได้จำนวนหนึ่งแล้วก็ถูกส่งไปทดสอบในแนวรบตะวันออกโชคปี 1944 มันมี Option ที่ไม่ค่อยจะเป็นที่นิยมในสมัยนั้นคือมีช่องบรรจุอุปกรณ์ทำความสะอาดตัวปืนแบบสำเร็จรูปเอาไว้ในพานท้ายและคันยิงที่ในเวลาต่อมามันก็ถูกนำไปใช้ในปืนตระกูล M16 จนมีชื่อเสียงโด่งดัง แต่มันก็ไม่เป็นที่พอใจนักเมื่อผ่านการทดสอบในสนามรบจริงจนในที่สุดโครงการนี้ก็ถูกยกเลิกไป
13. Shmeisser MP45
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
14. Grossfuss STG 45
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
15. Mauser Gerat 06 บน / STG 45 (M) ล่าง
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 10 หรือ 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
ปืนไรเฟิลชนิดนี้ใช้ระบบ delayed blowback เพื่อลดความซับซ้อนในการผลิตและใช้ทรัพยากรน้อยกว่าในการสร้างขึ้นมา 1 กระบอกเมื่อเทียบกับ stg 44 เชื่อกันว่ามันได้รับการผลิตเพียง 30 กระบอกเท่านั้นและส่วนใหญ่ก็ไม่ได้รับการทดสอบเมื่อจบสงครามโลกครั้งที่ 2 วิศวกรในบริษัท Mauser ได้หลบหนีไปยังสเปนและทำงานที่นั่นอยู่พักใหญ่จนให้กำเนิดปืนไรเฟิล CETME ชื่อดังของสเปนจากนั้นเมื่อบริษัท hk ตั้งตัวได้ในเยอรมนีตะวันตกวิศวกรเหล่านั้นก็ได้กลับคืนสู่บ้านเพื่อสร้างปืนไรเฟิล G3 อันเลื่องชื่อ เพราะฉะนั้นกล่าวได้ว่าปืนไรเฟิลที่ถูกผลิตช่วงท้ายสงครามรุ่นนี้คือบรรพบุรุษของปืนไรเฟิลที่ใช้ระบบ delayed blowback ทั้งหมดที่มีอยู่ในปัจจุบัน
16. Knorr-Bremse Paratrooper
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
17. Wimmersperg SPZ-kr
ขนาดกระสุน 7.92x33 kurz
บรรจุกระสุน 30 นัด
ประเทศ เยอรมัน
กระสุนขนาด 7.62x41 mm ของโซเวียตเป็นกระสุนที่ถูกคิดค้นขึ้นสำหรับใช้ในโครงการสร้างปืนไรเฟิลจู่โจม ซึ่งก่อนที่จะมีกระสุนขนาด 7.62x39 mm นั้นมันคือกระสุนสำคัญในการสร้างร่วมกับตัวต้นแบบปืนไรเฟิลจู่โจมของโซเวียตก่อนที่จะได้ปรับปรุงและแก้ไขจนเป็นกระสุนขนาด 7.62x39 mm ที่มีอยู่อย่างมากมายในปัจจุบัน
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปืนเล็กยาวจู่โจมรุ่นต้นแบบในสหรัฐไม่ได้รับความสนใจมากนักเพราะพึ่งจะได้ใช้ปืนไรเฟิลอัตโนมัติอย่าง M1 Garand ที่มีประสิทธิภาพสูงในการสู้รบและหลังจบสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงสงครามเกาหลีและช่วงต้นสงครามเวียดนามหลักนิยมของกองทัพสหรัฐก็ยังคงเป็นปืนยาวใช้กระสุนขนาดใหญ่อยู่ไม่มีที่ว่างให้ไรเฟิลจู่โจมจนการมาถึงของปืนตระกูล AR 15 นั่นแหละ