ศาสตราจารย์ Herbert A. Simon และ bounded rationality .. 18/10/2560
https://ppantip.com/topic/36993993
ศาสตราจารย์ Herbert A. Simon เป็นผู้บุกเบิกทฤษฎีการตัดสินใจ เขาเป็นนักรัฐศาสตร์ จีงคิดไม่เหมือนกับนักเศรษฐศาสตร์สมัยนั้นที่ให้ทฤษฎึการตัดสินใจว่าต้องอยู่บนเหตุและผล (logical decision) แต่ไซมอนด์ซึ่งเป็นนักจิตวิทยานอกเหนือจากเป็นนักรัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นักคอมพิวเตอร์ศาสตร์ (AI: Artificial Intelligence) เสนอทฤษฎี "bounded rationality" ว่าผู้บริหารต้องตัดสินใจภายใต้ข้อจำกัด (bounded) ของข้อมูลในขณะนั้น ไม่สามารถรอให้มีข้อมูลครบถ้วนได้ หลายปีต่อมาคือปี 1978 เขาได้รับรางวัลโนเบลทางเศรษฐศาสตร์ ทำให้นักเศรษฐศาสตร์แท้ๆที่ทำงานมาหลายปีอิจฉากัน
https://en.wikipedia.org/wiki/Herbert_A._Simon
https://en.wikipedia.org/wiki/Bounded_rationality
ดูบทความอื่นๆที่ผมเขียนออนไลน์ในเวปพันทิพด้วยการกูเกิ้ลคำว่า "สรายุทธ กันหลง pantip"
https://www.facebook.com/sarayuth.kunlong
ศาสตราจารย์ Herbert A. Simon และ bounded rationality .. 18/10/2560 สรายุทธ กันหลง
ศาสตราจารย์ Herbert A. Simon และ bounded rationality .. 18/10/2560
https://ppantip.com/topic/36993993
ศาสตราจารย์ Herbert A. Simon เป็นผู้บุกเบิกทฤษฎีการตัดสินใจ เขาเป็นนักรัฐศาสตร์ จีงคิดไม่เหมือนกับนักเศรษฐศาสตร์สมัยนั้นที่ให้ทฤษฎึการตัดสินใจว่าต้องอยู่บนเหตุและผล (logical decision) แต่ไซมอนด์ซึ่งเป็นนักจิตวิทยานอกเหนือจากเป็นนักรัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นักคอมพิวเตอร์ศาสตร์ (AI: Artificial Intelligence) เสนอทฤษฎี "bounded rationality" ว่าผู้บริหารต้องตัดสินใจภายใต้ข้อจำกัด (bounded) ของข้อมูลในขณะนั้น ไม่สามารถรอให้มีข้อมูลครบถ้วนได้ หลายปีต่อมาคือปี 1978 เขาได้รับรางวัลโนเบลทางเศรษฐศาสตร์ ทำให้นักเศรษฐศาสตร์แท้ๆที่ทำงานมาหลายปีอิจฉากัน
https://en.wikipedia.org/wiki/Herbert_A._Simon
https://en.wikipedia.org/wiki/Bounded_rationality
ดูบทความอื่นๆที่ผมเขียนออนไลน์ในเวปพันทิพด้วยการกูเกิ้ลคำว่า "สรายุทธ กันหลง pantip"
https://www.facebook.com/sarayuth.kunlong