ผมอยากลองจำลองการชนกันของหลุมดำบนคอมพิวเตอร์ดูน่ะครับ เลยลองหาโปรแกรม simulation ดู ผมพบสองโปรแกรมนี้ครับ PyCBC และ Einsteintoolkit
อยากทราบว่าสองโปรแกรมนี้ต่างกันอย่างไรครับ ทั้งสองโปรแกรมนี้ต้องการสเปคคอมพิวเตอร์ขั้นต่ำเท่าไหร่(ผมหาไม่เจอ) คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะธรรมดาสเปคพอหรือไม่(อาจต้องอัพการ์ดจอ) แล้วใครเคยใช้สองโปรแกรมนี้บ้างครับ พอจะแนะนำการใช้งานเบื้องต้นได้ไหมครับ หรือมีโปรแกรม simulation ตัวอื่นๆที่สามารถจำลองได้เหมือนกัน แต่ใช้งานง่ายกว่า และต้องการสเปคขั้นต่ำของคอมพิวเตอร์น้อยกว่าครับ
PyCBC is a software package used to explore astrophysical sources of gravitational waves. It contains algorithms that can detect coalescing compact binaries and measure the astrophysical parameters of detected sources. PyCBC was used in the first direct detection of gravitational waves (GW150914) by LIGO and is used in the ongoing analysis of LIGO and Virgo data.
https://ligo-cbc.github.io/pycbc/latest/html/index.html
The Einstein Toolkit is a community-driven software platform of core computational tools to advance and support research in relativistic astrophysics and gravitational physics.
https://einsteintoolkit.org
ส่วนตัวจขกทรู้สึกว่าโปรแกรม PyCBC จะใช้งานง่ายกว่าครับ(พอดีผมเขียนไพทอนเป็นอยู่บ้าง) กราฟออกมาก็ดูโอเคอยู่นะ คล้ายๆแมทแลป
https://ligo-cbc.github.io/pycbc/latest/html/waveform.html
แต่เหมือนว่า einsteintoolkit จะให้อนิเมชั่นการชนกันของหลุมดำได้สวยสดงดงามกว่ามาก (สเปคคอมขั้นต่ำสูงมากแน่ๆ)
ถ้า PyCBC ใช้สเปคขั้นต่ำน้อยมากตามที่ผมเข้าใจจริง ผมสงสัยว่าผมสามารถใช้ Raspberry pi ที่ผมมีอยู่รัน simulation ออกมาจะพอไหวมั๊ยครับ (เอาแค่กราฟ gravitational wave พอ ไม่เน้นกราฟฟิก) ถ้าได้นี่จะเป็นอะไรที่สุดยอดมากเลยครับ ผมจะได้ remote จากที่ไหนก็ได้เข้าไปสั่งให้ raspberry pi ที่ทำหน้าที่เป็นเซิฟเวอร์เล็กๆรันแล้วส่งข้อมูลที่ได้ไปขึ้น cloud แบบเรียลไทม์ ไอเดียคล้ายๆแบบนี้
https://medium.com/sathittham/rpi-เริ่มต้นกับ-raspberry-pi-ตอนที่-7-ทำ-temperature-monitoring-ผ่าน-thingspeak-com-460e1ce2bbf3
https://medium.com/sathittham/rpi-เข้าใช้งาน-raspberry-pi-ด้วยวิธี-remote-desktop-rdp-ทั้ง-5-แพลตฟอร์ม-7d9540afd886
มีใครเคยใช้โปรแกรมจำลองคลื่นโน้มถ่วงบ้างมั้ยครับ? [ฟิสิกส์]
อยากทราบว่าสองโปรแกรมนี้ต่างกันอย่างไรครับ ทั้งสองโปรแกรมนี้ต้องการสเปคคอมพิวเตอร์ขั้นต่ำเท่าไหร่(ผมหาไม่เจอ) คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะธรรมดาสเปคพอหรือไม่(อาจต้องอัพการ์ดจอ) แล้วใครเคยใช้สองโปรแกรมนี้บ้างครับ พอจะแนะนำการใช้งานเบื้องต้นได้ไหมครับ หรือมีโปรแกรม simulation ตัวอื่นๆที่สามารถจำลองได้เหมือนกัน แต่ใช้งานง่ายกว่า และต้องการสเปคขั้นต่ำของคอมพิวเตอร์น้อยกว่าครับ
PyCBC is a software package used to explore astrophysical sources of gravitational waves. It contains algorithms that can detect coalescing compact binaries and measure the astrophysical parameters of detected sources. PyCBC was used in the first direct detection of gravitational waves (GW150914) by LIGO and is used in the ongoing analysis of LIGO and Virgo data.
https://ligo-cbc.github.io/pycbc/latest/html/index.html
The Einstein Toolkit is a community-driven software platform of core computational tools to advance and support research in relativistic astrophysics and gravitational physics.
https://einsteintoolkit.org
ส่วนตัวจขกทรู้สึกว่าโปรแกรม PyCBC จะใช้งานง่ายกว่าครับ(พอดีผมเขียนไพทอนเป็นอยู่บ้าง) กราฟออกมาก็ดูโอเคอยู่นะ คล้ายๆแมทแลป
https://ligo-cbc.github.io/pycbc/latest/html/waveform.html
แต่เหมือนว่า einsteintoolkit จะให้อนิเมชั่นการชนกันของหลุมดำได้สวยสดงดงามกว่ามาก (สเปคคอมขั้นต่ำสูงมากแน่ๆ)
ถ้า PyCBC ใช้สเปคขั้นต่ำน้อยมากตามที่ผมเข้าใจจริง ผมสงสัยว่าผมสามารถใช้ Raspberry pi ที่ผมมีอยู่รัน simulation ออกมาจะพอไหวมั๊ยครับ (เอาแค่กราฟ gravitational wave พอ ไม่เน้นกราฟฟิก) ถ้าได้นี่จะเป็นอะไรที่สุดยอดมากเลยครับ ผมจะได้ remote จากที่ไหนก็ได้เข้าไปสั่งให้ raspberry pi ที่ทำหน้าที่เป็นเซิฟเวอร์เล็กๆรันแล้วส่งข้อมูลที่ได้ไปขึ้น cloud แบบเรียลไทม์ ไอเดียคล้ายๆแบบนี้
https://medium.com/sathittham/rpi-เริ่มต้นกับ-raspberry-pi-ตอนที่-7-ทำ-temperature-monitoring-ผ่าน-thingspeak-com-460e1ce2bbf3
https://medium.com/sathittham/rpi-เข้าใช้งาน-raspberry-pi-ด้วยวิธี-remote-desktop-rdp-ทั้ง-5-แพลตฟอร์ม-7d9540afd886