เนื่องด้วยผมได้ทดลองเก็บข้อมูลตัวเลขเล่นๆ ไว้ดูเอง เกี่ยวกับการลงทุนด้วยสูตรมหัศจรรย์ของ Joel Greenblatt
หลายๆ ท่านที่ลงทุนในตลาดหุ้น โดยเฉพาะสาย Value Investor หรืออาจจะเป็นสายลงทุนหุ้นในระยะกลาง - ยาว คงเคยได้ยินเกี่ยวกับสูตรนี้กันแล้วนะครับ คงจะทราบวิธีการกันคร่าวๆ อยู่แล้ว แต่ถ้าหากใครต้องการทราบข้อมูลเพิ่ม ผมจะมาทำเป็นสรุปคร่าวๆ ให้อีกทีนะครับ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้(ถ้าอ่านหนังสือจะประมาณ 131 หน้า ซึ่งเนื้อหาของสูตรจะอยู่ท้ายๆ เล่มไปแล้วครับ ส่วนแรกๆ กลางจะพูดถึงที่มาที่ไปที่เป็นเหตุผลให้เกิดสูตรนี้ได้
สำหรับการทดลองของผมจะมีช่วง 16 พฤศจิกายน 2015 - 15 พฤศจิกายน 2016 และ 4 พฤษภาคม 2016 - 3 พฤษภาคม 2017
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้สาเหตุที่เวลาดูไม่เป็นปีชนปีคือหัวปีชนท้ายปี ด้วยเหตุผลคือผมลืมเก็บข้อมูล ณ ช่วงนั้นครับ พอนึกได้เลยมาเก็บแล้วก็ดองไว้อย่างนั้น 555 โชคดีทีมานึกได้ตอนครบปีเลยได้เป็นข้อมูลมาวิเคราะห์ครับ (ข้อมูลที่ผมได้มาคือจาก Siamchart และดูควบคู่กับ Settrade ครับ)
เอาล่ะครับพร้อมรวย..เอ้ยพร้อมจะชมกันรึยังครับ ผมจะค่อยๆ เรียบเรียงการวิเคราะห์จากข้อมูลที่ผมเก็บเป็นส่วนๆ ตามนี้ครับ
ข้อมูล 16 พฤศจิกายน 2015 - 15 พฤศจิกายน 2016 (SET 1388.62 - 1490)
PE + ROA : No Scan
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้(เรียงลำดับหุ้น PE และ ROA หรือ ROE ออกมาเป็นหุ้นตัวไหนคือหยิบมาลงทุนตั้งแต่ 10 - 30 ตัวเลย)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
PE + ROE : No Scan
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
----------------------------------------
PE + ROA : Scan
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้(เรียงลำดับหุ้น PE และ ROA หรือ ROE ออกมาเป็นหุ้นตัวไหน จะเอามากรองคัด PE ที่ต่ำกว่า 5 ออกไปที่ต้องคัด PE ต่ำ 5 ออกไป เพราะ Joel บอกว่าในปีที่ผ่านมาหรือข้อมูลที่นำมาใช้นั้นผิดปกติ)
PE + ROE : Scan
หมวด Scan ผมจะมาทยอยใส่ทีหลังนะครับ
ข้อมูล 4 พฤษภาคม 2016 - 3 พฤษภาคม 2017 (SET 1390 - 1560)
PE + ROA : No Scan
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
PE + ROE : No Scan
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
---------------------------------------
PE + ROA : Scan
PE + ROE : Scan
หมวด Scan ผมจะมาทยอยใส่ทีหลังนะครับ
ตารางสรุปอีกครั้งเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นครับ (สำหรับ No-Scan นะครับ)
วิเคราะห์กันเรื่อยเปื่อยให้ฟังแล้วกันนะครับ
ช่วงปี Nov 15 - Nov 16
- ถ้าคุณใช้ PE+ROA จะกำไรชนะตลาดที่การลงทุน 15 ตัว // แต่คุณจะขาดทุน 7.93% ถ้าเลือกลงทุนที่ 10 ตัวแรก
- ถ้าคุณใช้ PE + ROE จะกำไรชนะตลาดที่การลงทุน 25 ตัว // แต่คุณจะขาดทุน 15 - 22% ถ้าเลือกลงทุนที่ 10 - 15 ตัวแรก
ช่วงปี May 16 - May 17
- ถ้าใช้ PE+ROA จะชนะตลาดที่การลงทุน 10 - 15 ตัวแรก // แพ้ตลาดแต่ไม่ขาดทุน ที่การลงทุน 20 - 30 ตัว
- ถ้าใช้ PE + ROE จะชนะตลาดที่การลงทุน 20 และ 25 ตัว // ที่เหลือแพ้ตลาดแต่ก็ยังไม่ขาดทุนครับ
คำถามคือสูตรนี้มันใช้ได้ดีจริงปล่าว???
- ถ้าดูจากตารางและช่วงระยะเวลาสั้นๆ เราก็ยังพอทำกำไรได้และยังมีโอกาสชนะตลาดอยู่พอสมควร แต่โอกาสขาดทุน (ไม่นับที่แพ้ตลาดแล้วยังกำไรนะครับ) ก็มีเหมือนกัน ซึ่งถ้าสังเกตดีๆ การลงทุนที่ 10 - 15 ตัวแรกจะมีโอกาสขาดทุนค่อนข้างสูงนะครับ ผมจำได้ว่า VI บางท่านเคยประมาณเอาไว้ว่าตลาดบ้านเราเหมาะที่จะใช้ Magic Formula ที่ระหว่าง 15 - 20 ตัว ซึ่งเทียบจากตารางก็เหมือนจะคล้ายๆ กับการประมาณการเหมือนกันครับ ... แต่ก็อย่าลืมนะครับ การลงทุนมีความเสี่ยงเสมอครับ ถ้าเรากระจายความเสี่ยงมากก็อาจจะได้น้อย ถ้ากระจายน้อยก็อาจจะได้เยอะและก็อาจจะเสียเยอะครับ
- โดยรวมจากตารางนี้ถ้าเราไม่ได้เก่งการวิเคราะห์การเงิน เราก็ยังมีโอกาสชนะดอกเบี้ยธนาคารหรือพันธบัตรรัฐบาลอยู่แล้วครับ (เว้นแต่จะไปจิ้มโดนเซทที่ขาดทุนนะครับ - - อันนี้คิดแล้วก็สยองเหมือนกัน)
- ต้องเข้าใจเงื่อนไขของสูตรนี้นิดนึงนะครับคือ ต้องลงทุนต่อเนื่องแบบนี้ทุกปี เพราะจะมีบางปีที่เราแพ้ตลาด หรือขาดทุน และบางปีก็ชนะตลาดอย่างท่วมท้น และพอเอามารวมกันหลายๆ ปี จะได้ค่าเฉลี่ยกำไรทบต้นสูงกว่าตลาดครับ (อันนี้เคยมีวิจัยตลาดไทยที่ดร.ท่านนึงทำไว้ด้วยครับ //และของต่างประเทศเองก็มีการเก็บข้อมูลไว้ก็พบว่าชนะตลาดได้เหมือนกันครับ)
- ผมมองว่าสูตรนี้ก็ไม่น่าเสียหายอะไรครับ สำหรับผู้ที่ไม่ค่อยมีความสามารถในการอ่านงบการเงิน การวิเคราะห์หุ้น หรือขี้เกียจ?? ผมไม่ได้เป็น 1 ในนั้นครับ แต่ผมสนใจแนวทางของสูตร และอีกหลายๆ รูปแบบของการลงทุนแบบ Value Investor ครับ
การลงทุนแบบ Magic Formula อาจจะไม่ถูกเรียกว่า Value Investment นะครับ แต่ก็ไม่ใช่การเก็งกำไรหรือถือระยะสั้นแน่นอนครับ เพราะรูปแบบการนำตัวหุ้นมาลงทุนก็ยังมีพื้นฐานจากการวิเคราะห์แบบ Fundamental อยู่นะครับซึ่งก็คือค่า PE, ROE, ROA (นักลงทุนที่เก่งๆ ก็จะมีตัวแปรมาคิดคำนวณเพิ่มอยู่แล้วครับเช่น P/BV, Profit Margin, D/E, Current Ratio etc.)
การลงทุนมันเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง มันมีทั้งจินตนาการ + ความสามารถในการมองเห็นและวิเคราะห์ครับ ถ้ามองกันหลักๆ การลงทุนในสาย Value Investment ต้องมีการวิเคราะห์ 2 อย่างหลักๆ คือ Quantitative Analysis (วิเคราะห์เชิงปริมาณ) และ Qualitative Analysis (วิเคราะห์เชิงคุณภาพ)
ถ้ามีโอกาสจะมาทำการทดลองผ่านการลงทุนรูปแบบอื่นๆ ให้ดูอีกนะครับ
ผลลัพธ์การลงทุนด้วย สูตรมหัศจรรย์ (Magic Formula) 2015 - 2017
หลายๆ ท่านที่ลงทุนในตลาดหุ้น โดยเฉพาะสาย Value Investor หรืออาจจะเป็นสายลงทุนหุ้นในระยะกลาง - ยาว คงเคยได้ยินเกี่ยวกับสูตรนี้กันแล้วนะครับ คงจะทราบวิธีการกันคร่าวๆ อยู่แล้ว แต่ถ้าหากใครต้องการทราบข้อมูลเพิ่ม ผมจะมาทำเป็นสรุปคร่าวๆ ให้อีกทีนะครับ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
สำหรับการทดลองของผมจะมีช่วง 16 พฤศจิกายน 2015 - 15 พฤศจิกายน 2016 และ 4 พฤษภาคม 2016 - 3 พฤษภาคม 2017 [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ (ข้อมูลที่ผมได้มาคือจาก Siamchart และดูควบคู่กับ Settrade ครับ)
เอาล่ะครับพร้อมรวย..เอ้ยพร้อมจะชมกันรึยังครับ ผมจะค่อยๆ เรียบเรียงการวิเคราะห์จากข้อมูลที่ผมเก็บเป็นส่วนๆ ตามนี้ครับ
ข้อมูล 16 พฤศจิกายน 2015 - 15 พฤศจิกายน 2016 (SET 1388.62 - 1490)
PE + ROA : No Scan [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
PE + ROE : No Scan
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
----------------------------------------
PE + ROA : Scan [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
PE + ROE : Scan
หมวด Scan ผมจะมาทยอยใส่ทีหลังนะครับ
ข้อมูล 4 พฤษภาคม 2016 - 3 พฤษภาคม 2017 (SET 1390 - 1560)
PE + ROA : No Scan
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
PE + ROE : No Scan
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
---------------------------------------
PE + ROA : Scan
PE + ROE : Scan
หมวด Scan ผมจะมาทยอยใส่ทีหลังนะครับ
ตารางสรุปอีกครั้งเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นครับ (สำหรับ No-Scan นะครับ)
วิเคราะห์กันเรื่อยเปื่อยให้ฟังแล้วกันนะครับ
ช่วงปี Nov 15 - Nov 16
- ถ้าคุณใช้ PE+ROA จะกำไรชนะตลาดที่การลงทุน 15 ตัว // แต่คุณจะขาดทุน 7.93% ถ้าเลือกลงทุนที่ 10 ตัวแรก
- ถ้าคุณใช้ PE + ROE จะกำไรชนะตลาดที่การลงทุน 25 ตัว // แต่คุณจะขาดทุน 15 - 22% ถ้าเลือกลงทุนที่ 10 - 15 ตัวแรก
ช่วงปี May 16 - May 17
- ถ้าใช้ PE+ROA จะชนะตลาดที่การลงทุน 10 - 15 ตัวแรก // แพ้ตลาดแต่ไม่ขาดทุน ที่การลงทุน 20 - 30 ตัว
- ถ้าใช้ PE + ROE จะชนะตลาดที่การลงทุน 20 และ 25 ตัว // ที่เหลือแพ้ตลาดแต่ก็ยังไม่ขาดทุนครับ
คำถามคือสูตรนี้มันใช้ได้ดีจริงปล่าว???
- ถ้าดูจากตารางและช่วงระยะเวลาสั้นๆ เราก็ยังพอทำกำไรได้และยังมีโอกาสชนะตลาดอยู่พอสมควร แต่โอกาสขาดทุน (ไม่นับที่แพ้ตลาดแล้วยังกำไรนะครับ) ก็มีเหมือนกัน ซึ่งถ้าสังเกตดีๆ การลงทุนที่ 10 - 15 ตัวแรกจะมีโอกาสขาดทุนค่อนข้างสูงนะครับ ผมจำได้ว่า VI บางท่านเคยประมาณเอาไว้ว่าตลาดบ้านเราเหมาะที่จะใช้ Magic Formula ที่ระหว่าง 15 - 20 ตัว ซึ่งเทียบจากตารางก็เหมือนจะคล้ายๆ กับการประมาณการเหมือนกันครับ ... แต่ก็อย่าลืมนะครับ การลงทุนมีความเสี่ยงเสมอครับ ถ้าเรากระจายความเสี่ยงมากก็อาจจะได้น้อย ถ้ากระจายน้อยก็อาจจะได้เยอะและก็อาจจะเสียเยอะครับ
- โดยรวมจากตารางนี้ถ้าเราไม่ได้เก่งการวิเคราะห์การเงิน เราก็ยังมีโอกาสชนะดอกเบี้ยธนาคารหรือพันธบัตรรัฐบาลอยู่แล้วครับ (เว้นแต่จะไปจิ้มโดนเซทที่ขาดทุนนะครับ - - อันนี้คิดแล้วก็สยองเหมือนกัน)
- ต้องเข้าใจเงื่อนไขของสูตรนี้นิดนึงนะครับคือ ต้องลงทุนต่อเนื่องแบบนี้ทุกปี เพราะจะมีบางปีที่เราแพ้ตลาด หรือขาดทุน และบางปีก็ชนะตลาดอย่างท่วมท้น และพอเอามารวมกันหลายๆ ปี จะได้ค่าเฉลี่ยกำไรทบต้นสูงกว่าตลาดครับ (อันนี้เคยมีวิจัยตลาดไทยที่ดร.ท่านนึงทำไว้ด้วยครับ //และของต่างประเทศเองก็มีการเก็บข้อมูลไว้ก็พบว่าชนะตลาดได้เหมือนกันครับ)
- ผมมองว่าสูตรนี้ก็ไม่น่าเสียหายอะไรครับ สำหรับผู้ที่ไม่ค่อยมีความสามารถในการอ่านงบการเงิน การวิเคราะห์หุ้น หรือขี้เกียจ?? ผมไม่ได้เป็น 1 ในนั้นครับ แต่ผมสนใจแนวทางของสูตร และอีกหลายๆ รูปแบบของการลงทุนแบบ Value Investor ครับ
การลงทุนแบบ Magic Formula อาจจะไม่ถูกเรียกว่า Value Investment นะครับ แต่ก็ไม่ใช่การเก็งกำไรหรือถือระยะสั้นแน่นอนครับ เพราะรูปแบบการนำตัวหุ้นมาลงทุนก็ยังมีพื้นฐานจากการวิเคราะห์แบบ Fundamental อยู่นะครับซึ่งก็คือค่า PE, ROE, ROA (นักลงทุนที่เก่งๆ ก็จะมีตัวแปรมาคิดคำนวณเพิ่มอยู่แล้วครับเช่น P/BV, Profit Margin, D/E, Current Ratio etc.)
การลงทุนมันเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง มันมีทั้งจินตนาการ + ความสามารถในการมองเห็นและวิเคราะห์ครับ ถ้ามองกันหลักๆ การลงทุนในสาย Value Investment ต้องมีการวิเคราะห์ 2 อย่างหลักๆ คือ Quantitative Analysis (วิเคราะห์เชิงปริมาณ) และ Qualitative Analysis (วิเคราะห์เชิงคุณภาพ)
ถ้ามีโอกาสจะมาทำการทดลองผ่านการลงทุนรูปแบบอื่นๆ ให้ดูอีกนะครับ