บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปที่เกิดขึ้นครั้งแรกของโลกเป็นความคิดของ “นายอันโด โมโมฟุกุ” ผู้ก่อตั้งและประธานกลุ่มบริษัทนิชชิน ในปี 2501 ซึ่งเป็นยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประชาชนประสบภาวะข้าวยากหมากแพง กระทรวงสาธารณสุขของญี่ปุ่นแนะให้ชาวญี่ปุ่นกินขนมปังทำจากข้าวสาลี โดยได้รับการสนับสนุนจากอเมริกา แต่นายอันโดกลับคิดว่าทำไมชาวญี่ปุ่นต้องกินขนมปัง ทั้งๆ ที่คนญี่ปุ่นคุ้นเคยกับการกินบะหมี่หรือราเมน เขาจึงทดลองทำบะหมี่ที่ใครๆ ก็ทำกินเองได้ง่าย สะดวก และราคาถูก
นายอันโด โมโมฟุกุ บิดาผู้ให้กำเนิดอาหารคนยาก
บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปที่เกิดขึ้นครั้งแรกของโลกเป็นความคิดของ “นายอันโด โมโมฟุกุ” ผู้ก่อตั้งและประธานกลุ่มบริษัทนิชชิน ในปี 2501 ซึ่งเป็นยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประชาชนประสบภาวะข้าวยากหมากแพง กระทรวงสาธารณสุขของญี่ปุ่นแนะให้ชาวญี่ปุ่นกินขนมปังทำจากข้าวสาลี โดยได้รับการสนับสนุนจากอเมริกา แต่นายอันโดกลับคิดว่าทำไมชาวญี่ปุ่นต้องกินขนมปัง ทั้งๆ ที่คนญี่ปุ่นคุ้นเคยกับการกินบะหมี่หรือราเมน เขาจึงทดลองทำบะหมี่ที่ใครๆ ก็ทำกินเองได้ง่าย สะดวก และราคาถูก
หลังจากที่ลองผิดลองถูกอยู่หลายเดือน ในที่สุดวันที่ 25 ส.ค. 2501 นายอันโดคิดค้นบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปได้เป็นครั้งแรก เมื่อเขาอายุได้ 48 ปี โดยตั้งชื่อบะหมี่ของเขาว่า “ชิกิ้น ราเมน” โดยนำเส้นราเมนที่ได้จากการผสมกับน้ำซุปกระดูกไก่ (โทริคะระ) ทอดในน้ำมันปาล์มไล่ความชื้นออกไป เพื่อสามารถเก็บไว้ได้นาน แค่เติมน้ำร้อนเส้นก็จะคืนสภาพเดิมและกินได้ทันทีโดยไม่ต้องปรุงอะไรเพิ่มเติมเลยปัจจุบันชิกิ้น ราเมนยังเป็นรสที่ขายดี ที่ยังคงความอร่อยมาจนถึงทุกวันนี้ ต่อมาปี 2507 นายอันโดก่อตั้งสมาคม อุตสาหกรรมอาหารสำเร็จรูป และเป็นประธานสมาคมผู้ผลิตราเมนนานาชาติ และก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ราเมนสำเร็จรูปโมโมฟุกุ อันโด กิจการบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปได้รับการตอบรับดีมาก
กระทั่งปี 2514 นายอันโดในวัย 61 ปี ขยายกลุ่มผู้บริโภคไปยังต่างประเทศ โดยพุ่งเป้าไปที่สหรัฐ และสังเกตเห็นว่าชาวอเมริกันมักจะหักบะหมี่ออกเป็นสองท่อนแล้วใส่ในถ้วย ก่อนจะเติมน้ำร้อนตามไป และใช้ส้อมแทนตะเกียบ ทำให้เขาปิ๊งไอเดียผลิตบะหมี่ในชามขึ้นมา โดยใช้ถ้วยโฟมบรรจุบะหมี่ออกวางขาย หลังจากนั้นจึงเปลี่ยนรูปแบบมาเป็นบะหมี่ถ้วย หรือคัพเมน หรือคัพนู้ดเดิ้ล
ตามประวัติบอกว่าตอนแรกบะหมี่ถ้วยยังไม่เป็นที่นิยมกันมากนัก จนเมื่อเกิดเหตุการณ์การลักพาตัวประกันโดยกลุ่มต่อต้านจักรวรรดิญี่ปุ่น ที่จังหวัดนากาโน่ โดยมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ตลอดเวลาต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 10 วัน เป็นเหตุการณ์ที่มีผู้ชมมากที่สุดในประวัติศาสตร์โทรทัศน์ญี่ปุ่น ถึงร้อยละ 90 ผู้ชมเห็นความเคลื่อนไหวและความเป็นไปของเหตุการณ์โดยตลอด และมีภาพของคนที่กำลังกินคัพนู้ดเดิ้ลในสถานที่เกิดเหตุด้วย เพราะในช่วงนั้นอากาศหนาวมาก จึงกินข้าวในกล่องหรือเบนโตะไม่ได้เพราะแข็งจนกินไม่ได้ จากนั้นมาคนญี่ปุ่นจึงได้รู้จักคัพนู้ดเดิ้ลในวงกว้างและแพร่หลายไปทั่วโลก
ชิกิ้น ราเมน
หลังจากที่ลองผิดลองถูกอยู่หลายเดือน ในที่สุดวันที่ 25 ส.ค. 2501 นายอันโดคิดค้นบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปได้เป็นครั้งแรก เมื่อเขาอายุได้ 48 ปี โดยตั้งชื่อบะหมี่ของเขาว่า “ชิกิ้น ราเมน” โดยนำเส้นราเมนที่ได้จากการผสมกับน้ำซุปกระดูกไก่ (โทริคะระ) ทอดในน้ำมันปาล์มไล่ความชื้นออกไป เพื่อสามารถเก็บไว้ได้นาน แค่เติมน้ำร้อนเส้นก็จะคืนสภาพเดิมและกินได้ทันทีโดยไม่ต้องปรุงอะไรเพิ่มเติมเลยปัจจุบันชิกิ้น ราเมนยังเป็นรสที่ขายดี ที่ยังคงความอร่อยมาจนถึงทุกวันนี้ ต่อมาปี 2507 นายอันโดก่อตั้งสมาคม อุตสาหกรรมอาหารสำเร็จรูป และเป็นประธานสมาคมผู้ผลิตราเมนนานาชาติ และก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ราเมนสำเร็จรูปโมโมฟุกุ อันโด กิจการบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปได้รับการตอบรับดีมาก
กระทั่งปี 2514 นายอันโดในวัย 61 ปี ขยายกลุ่มผู้บริโภคไปยังต่างประเทศ โดยพุ่งเป้าไปที่สหรัฐ และสังเกตเห็นว่าชาวอเมริกันมักจะหักบะหมี่ออกเป็นสองท่อนแล้วใส่ในถ้วย ก่อนจะเติมน้ำร้อนตามไป และใช้ส้อมแทนตะเกียบ ทำให้เขาปิ๊งไอเดียผลิตบะหมี่ในชามขึ้นมา โดยใช้ถ้วยโฟมบรรจุบะหมี่ออกวางขาย หลังจากนั้นจึงเปลี่ยนรูปแบบมาเป็นบะหมี่ถ้วย หรือคัพเมน หรือคัพนู้ดเดิ้ล
ตามประวัติบอกว่าตอนแรกบะหมี่ถ้วยยังไม่เป็นที่นิยมกันมากนัก จนเมื่อเกิดเหตุการณ์การลักพาตัวประกันโดยกลุ่มต่อต้านจักรวรรดิญี่ปุ่น ที่จังหวัดนากาโน่ โดยมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ตลอดเวลาต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 10 วัน เป็นเหตุการณ์ที่มีผู้ชมมากที่สุดในประวัติศาสตร์โทรทัศน์ญี่ปุ่น ถึงร้อยละ 90 ผู้ชมเห็นความเคลื่อนไหวและความเป็นไปของเหตุการณ์โดยตลอด และมีภาพของคนที่กำลังกินคัพนู้ดเดิ้ลในสถานที่เกิดเหตุด้วย เพราะในช่วงนั้นอากาศหนาวมาก จึงกินข้าวในกล่องหรือเบนโตะไม่ได้เพราะแข็งจนกินไม่ได้ จากนั้นมาคนญี่ปุ่นจึงได้รู้จักคัพนู้ดเดิ้ลในวงกว้างและแพร่หลายไปทั่วโลก
บะหมียี่ห้อแรกของโลกในรสชาดถูกปากชาวไทย
ในทางโภชนาการ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปไม่ได้ให้สารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายแต่อย่างใด มีพลังงานแคลเลอรีสูง มีองค์ประกอบของไขมันอิ่มตัว และโซเดียมสูงมาก ซึ่งทำให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ, เบาหวาน และอาการหลอดเลือดในสมอง โดยประเทศที่มีการบริโภคบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมากที่สุดในโลก คือ เกาหลีใต้ ที่มีขายอยู่ทุกมุม แม้กระทั่งสระว่ายน้ำหรือห้องสมุด เพราะสะดวกต่อการบริโภคและราคาถูก การรับประทานบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมากกว่า 2 ครั้งต่อสัปดาห์จะก่อให้เกิดความบกพร่องของระบบเผาผลาญอาหาร ซึ่งเป็นส่วนประกอบของโรคเบาหวาน และยังทำให้เกิดโรคเบาหวานและหัวใจ โดยเฉพาะในผู้หญิง แต่จะไม่พบในผู้ชาย ในจีน เมื่อปี พ.ศ. 2556 มีอัตราการบริโภคบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมากถึง 46,000 ล้านห่อ คิดเป็นร้อยละ 44 ของบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปซองทั่วโลก เฉลี่ยแล้วคนละ 32 ซองต่อปี แต่ก็ยังเป็นอัตราส่วนน้อยกว่าการบริโภคต่อคนเมื่อเทียบกับเกาหลีใต้, อินโดนีเซีย และญี่ปุ่น
บทความนี้ได้จากการรวบรวมข้อมูลขอขอบคุณhttps://sites.google.com
เครดิต
https://sites.google.com/site/insantnoodles/home/tn-kaneid-khxng-bahmi-kung-sarecrup
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B
กำเนิดบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปผลพ่วงจากการพ่ายแพ้สงครามของจักรวรรดิญี่ปุ่น
บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปที่เกิดขึ้นครั้งแรกของโลกเป็นความคิดของ “นายอันโด โมโมฟุกุ” ผู้ก่อตั้งและประธานกลุ่มบริษัทนิชชิน ในปี 2501 ซึ่งเป็นยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประชาชนประสบภาวะข้าวยากหมากแพง กระทรวงสาธารณสุขของญี่ปุ่นแนะให้ชาวญี่ปุ่นกินขนมปังทำจากข้าวสาลี โดยได้รับการสนับสนุนจากอเมริกา แต่นายอันโดกลับคิดว่าทำไมชาวญี่ปุ่นต้องกินขนมปัง ทั้งๆ ที่คนญี่ปุ่นคุ้นเคยกับการกินบะหมี่หรือราเมน เขาจึงทดลองทำบะหมี่ที่ใครๆ ก็ทำกินเองได้ง่าย สะดวก และราคาถูก
หลังจากที่ลองผิดลองถูกอยู่หลายเดือน ในที่สุดวันที่ 25 ส.ค. 2501 นายอันโดคิดค้นบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปได้เป็นครั้งแรก เมื่อเขาอายุได้ 48 ปี โดยตั้งชื่อบะหมี่ของเขาว่า “ชิกิ้น ราเมน” โดยนำเส้นราเมนที่ได้จากการผสมกับน้ำซุปกระดูกไก่ (โทริคะระ) ทอดในน้ำมันปาล์มไล่ความชื้นออกไป เพื่อสามารถเก็บไว้ได้นาน แค่เติมน้ำร้อนเส้นก็จะคืนสภาพเดิมและกินได้ทันทีโดยไม่ต้องปรุงอะไรเพิ่มเติมเลยปัจจุบันชิกิ้น ราเมนยังเป็นรสที่ขายดี ที่ยังคงความอร่อยมาจนถึงทุกวันนี้ ต่อมาปี 2507 นายอันโดก่อตั้งสมาคม อุตสาหกรรมอาหารสำเร็จรูป และเป็นประธานสมาคมผู้ผลิตราเมนนานาชาติ และก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ราเมนสำเร็จรูปโมโมฟุกุ อันโด กิจการบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปได้รับการตอบรับดีมาก
กระทั่งปี 2514 นายอันโดในวัย 61 ปี ขยายกลุ่มผู้บริโภคไปยังต่างประเทศ โดยพุ่งเป้าไปที่สหรัฐ และสังเกตเห็นว่าชาวอเมริกันมักจะหักบะหมี่ออกเป็นสองท่อนแล้วใส่ในถ้วย ก่อนจะเติมน้ำร้อนตามไป และใช้ส้อมแทนตะเกียบ ทำให้เขาปิ๊งไอเดียผลิตบะหมี่ในชามขึ้นมา โดยใช้ถ้วยโฟมบรรจุบะหมี่ออกวางขาย หลังจากนั้นจึงเปลี่ยนรูปแบบมาเป็นบะหมี่ถ้วย หรือคัพเมน หรือคัพนู้ดเดิ้ล
ตามประวัติบอกว่าตอนแรกบะหมี่ถ้วยยังไม่เป็นที่นิยมกันมากนัก จนเมื่อเกิดเหตุการณ์การลักพาตัวประกันโดยกลุ่มต่อต้านจักรวรรดิญี่ปุ่น ที่จังหวัดนากาโน่ โดยมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ตลอดเวลาต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 10 วัน เป็นเหตุการณ์ที่มีผู้ชมมากที่สุดในประวัติศาสตร์โทรทัศน์ญี่ปุ่น ถึงร้อยละ 90 ผู้ชมเห็นความเคลื่อนไหวและความเป็นไปของเหตุการณ์โดยตลอด และมีภาพของคนที่กำลังกินคัพนู้ดเดิ้ลในสถานที่เกิดเหตุด้วย เพราะในช่วงนั้นอากาศหนาวมาก จึงกินข้าวในกล่องหรือเบนโตะไม่ได้เพราะแข็งจนกินไม่ได้ จากนั้นมาคนญี่ปุ่นจึงได้รู้จักคัพนู้ดเดิ้ลในวงกว้างและแพร่หลายไปทั่วโลก
หลังจากที่ลองผิดลองถูกอยู่หลายเดือน ในที่สุดวันที่ 25 ส.ค. 2501 นายอันโดคิดค้นบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปได้เป็นครั้งแรก เมื่อเขาอายุได้ 48 ปี โดยตั้งชื่อบะหมี่ของเขาว่า “ชิกิ้น ราเมน” โดยนำเส้นราเมนที่ได้จากการผสมกับน้ำซุปกระดูกไก่ (โทริคะระ) ทอดในน้ำมันปาล์มไล่ความชื้นออกไป เพื่อสามารถเก็บไว้ได้นาน แค่เติมน้ำร้อนเส้นก็จะคืนสภาพเดิมและกินได้ทันทีโดยไม่ต้องปรุงอะไรเพิ่มเติมเลยปัจจุบันชิกิ้น ราเมนยังเป็นรสที่ขายดี ที่ยังคงความอร่อยมาจนถึงทุกวันนี้ ต่อมาปี 2507 นายอันโดก่อตั้งสมาคม อุตสาหกรรมอาหารสำเร็จรูป และเป็นประธานสมาคมผู้ผลิตราเมนนานาชาติ และก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ราเมนสำเร็จรูปโมโมฟุกุ อันโด กิจการบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปได้รับการตอบรับดีมาก
กระทั่งปี 2514 นายอันโดในวัย 61 ปี ขยายกลุ่มผู้บริโภคไปยังต่างประเทศ โดยพุ่งเป้าไปที่สหรัฐ และสังเกตเห็นว่าชาวอเมริกันมักจะหักบะหมี่ออกเป็นสองท่อนแล้วใส่ในถ้วย ก่อนจะเติมน้ำร้อนตามไป และใช้ส้อมแทนตะเกียบ ทำให้เขาปิ๊งไอเดียผลิตบะหมี่ในชามขึ้นมา โดยใช้ถ้วยโฟมบรรจุบะหมี่ออกวางขาย หลังจากนั้นจึงเปลี่ยนรูปแบบมาเป็นบะหมี่ถ้วย หรือคัพเมน หรือคัพนู้ดเดิ้ล
ตามประวัติบอกว่าตอนแรกบะหมี่ถ้วยยังไม่เป็นที่นิยมกันมากนัก จนเมื่อเกิดเหตุการณ์การลักพาตัวประกันโดยกลุ่มต่อต้านจักรวรรดิญี่ปุ่น ที่จังหวัดนากาโน่ โดยมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ตลอดเวลาต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 10 วัน เป็นเหตุการณ์ที่มีผู้ชมมากที่สุดในประวัติศาสตร์โทรทัศน์ญี่ปุ่น ถึงร้อยละ 90 ผู้ชมเห็นความเคลื่อนไหวและความเป็นไปของเหตุการณ์โดยตลอด และมีภาพของคนที่กำลังกินคัพนู้ดเดิ้ลในสถานที่เกิดเหตุด้วย เพราะในช่วงนั้นอากาศหนาวมาก จึงกินข้าวในกล่องหรือเบนโตะไม่ได้เพราะแข็งจนกินไม่ได้ จากนั้นมาคนญี่ปุ่นจึงได้รู้จักคัพนู้ดเดิ้ลในวงกว้างและแพร่หลายไปทั่วโลก
ในทางโภชนาการ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปไม่ได้ให้สารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายแต่อย่างใด มีพลังงานแคลเลอรีสูง มีองค์ประกอบของไขมันอิ่มตัว และโซเดียมสูงมาก ซึ่งทำให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ, เบาหวาน และอาการหลอดเลือดในสมอง โดยประเทศที่มีการบริโภคบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมากที่สุดในโลก คือ เกาหลีใต้ ที่มีขายอยู่ทุกมุม แม้กระทั่งสระว่ายน้ำหรือห้องสมุด เพราะสะดวกต่อการบริโภคและราคาถูก การรับประทานบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมากกว่า 2 ครั้งต่อสัปดาห์จะก่อให้เกิดความบกพร่องของระบบเผาผลาญอาหาร ซึ่งเป็นส่วนประกอบของโรคเบาหวาน และยังทำให้เกิดโรคเบาหวานและหัวใจ โดยเฉพาะในผู้หญิง แต่จะไม่พบในผู้ชาย ในจีน เมื่อปี พ.ศ. 2556 มีอัตราการบริโภคบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมากถึง 46,000 ล้านห่อ คิดเป็นร้อยละ 44 ของบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปซองทั่วโลก เฉลี่ยแล้วคนละ 32 ซองต่อปี แต่ก็ยังเป็นอัตราส่วนน้อยกว่าการบริโภคต่อคนเมื่อเทียบกับเกาหลีใต้, อินโดนีเซีย และญี่ปุ่น
เครดิต
https://sites.google.com/site/insantnoodles/home/tn-kaneid-khxng-bahmi-kung-sarecrup
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B