ดูกรปุณณะ..กรรมดำมีวิบากดำมีอยู่..กรรมขาวมีวิบากขาวมีอยู่..กรรมทั้งดำทั้งขาวมีวิบากทั้งดำทั้งขาวมีอยู่..
กรรมไม่ดำไม่ขาว มีวิบากไม่ดำไม่ขาว เป็นไปเพื่อความสิ้นกรรมมีอยู่..
(พระพุทธองค์ทรงตรัสเทศนาแก่พระปุณณะ)
จากพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตะปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ กุกกุโรวาทสูตร
.........................................................................................................................................
ความเป็นกลางของธาตุ ความเป็นกลางของพลังงาน ความเป็นกลางของแรงดึงแรงยึดในตนเองของธาตุ
ทำให้ธาตุบริสุทธิ์สันติ..
ยิ่งในตนเองของธาตุมีความเป็นกลางที่สูงขึ้นมากเท่าไร ธาตุนั้นก็ยิ่งมีความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปตามลำดับ..
........................................................................................................................................
มรรค ๘..ศีล สมาธิ ปัญญา คือทางสายกลางที่พระพุทธองค์ตรัสสอนนั้นหมายถึงความเป็นกลางของจิต
ความเป็นกลางในทางการเคลื่อนไหวกระทำของจิต และความเป็นกลางทางความยึดถือของจิต..
จึงทำให้จิตมีความบริสุทธิ์ มีกรรมบริสุทธิ์ มีความยึดถือบริสุทธิ์..เป็นที่สิ้นแห่งกรรม
.....................................................................................................................
ความเป็นกลางคือความพอดีๆ ไม่สุดโต่ง ไปทางชอบและชัง..หย่อนยานหรือสุดโต่ง
จิตที่มีความเป็นกลางจึงไม่มีชอบ-ไม่มีชัง..ไม่มีการก่อกรรมไปด้วยความชอบและความชัง
จิตที่ไม่มีชอบ-ไม่มีชัง จึงเป็นจิตที่มีศีล มีความสงบ(สมาธิ) มีปัญญา..
จิตตรง กายตรง ไม่เฉไฉ..
พลังงานตรงไม่เบี่ยงเบน..คิดตรง พูดตรง ทำตรง
ความเป็นกลางของธาตุ ความเป็นกลางในทางความเคลื่อนไหวกระทำของธาตุ..ทำธาตุให้บริสุทธิ์
กรรมไม่ดำไม่ขาว มีวิบากไม่ดำไม่ขาว เป็นไปเพื่อความสิ้นกรรมมีอยู่..
(พระพุทธองค์ทรงตรัสเทศนาแก่พระปุณณะ)
จากพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตะปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ กุกกุโรวาทสูตร
.........................................................................................................................................
ความเป็นกลางของธาตุ ความเป็นกลางของพลังงาน ความเป็นกลางของแรงดึงแรงยึดในตนเองของธาตุ
ทำให้ธาตุบริสุทธิ์สันติ..
ยิ่งในตนเองของธาตุมีความเป็นกลางที่สูงขึ้นมากเท่าไร ธาตุนั้นก็ยิ่งมีความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปตามลำดับ..
........................................................................................................................................
มรรค ๘..ศีล สมาธิ ปัญญา คือทางสายกลางที่พระพุทธองค์ตรัสสอนนั้นหมายถึงความเป็นกลางของจิต
ความเป็นกลางในทางการเคลื่อนไหวกระทำของจิต และความเป็นกลางทางความยึดถือของจิต..
จึงทำให้จิตมีความบริสุทธิ์ มีกรรมบริสุทธิ์ มีความยึดถือบริสุทธิ์..เป็นที่สิ้นแห่งกรรม
.....................................................................................................................
ความเป็นกลางคือความพอดีๆ ไม่สุดโต่ง ไปทางชอบและชัง..หย่อนยานหรือสุดโต่ง
จิตที่มีความเป็นกลางจึงไม่มีชอบ-ไม่มีชัง..ไม่มีการก่อกรรมไปด้วยความชอบและความชัง
จิตที่ไม่มีชอบ-ไม่มีชัง จึงเป็นจิตที่มีศีล มีความสงบ(สมาธิ) มีปัญญา..
จิตตรง กายตรง ไม่เฉไฉ..
พลังงานตรงไม่เบี่ยงเบน..คิดตรง พูดตรง ทำตรง