สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 4
หูฟังทุกประเภท หากเราเปิดดังพอสมควรก็จะ ไม่มีอันตราย ครับ
แต่ที่มีการพูดถึงกัน คือ หูฟังแบบอุดหู (in ear headphone) เพราะหูฟังชนิดนี้ส่งความดันอากาศเข้าไป
ในรูหูโดยตรง ทำให้ค่า SPL (Sound pressure Level) จะมีค่าสูงกว่าปกติ เช่น หากเราเปิดเพลง
ที่มี ความดัง จากความรู้สึกเท่า ๆ กัน ระหว่าง ลำโพง หูฟังแบบครอบหู หูฟังแบบ Earbud
และ หูฟัง In ear ปรากฏว่าค่า SPL จริง ๆ ที่กระทำต่อเยื่อแก้วหู .... ลำโพงจะน้อยสุด และ หูฟัง In ear จะมากที่สุดครับ
ส่วนเรื่องอื่น ๆ ที่อันตรายกว่า คือ การใส่หูฟัง In ear ขณะเดินตามถนน ใส่ขับรถ
เราจะไม่ได้ยินเสียงสิ่งแวดล้อมเลยครับ หากมีภัยมาถึงตัวเราก็จะไม่ได้ยินเสียงเลย
เพราะมันกันเสียงสิ่งแวดล้อมใว้หมด
แต่ที่มีการพูดถึงกัน คือ หูฟังแบบอุดหู (in ear headphone) เพราะหูฟังชนิดนี้ส่งความดันอากาศเข้าไป
ในรูหูโดยตรง ทำให้ค่า SPL (Sound pressure Level) จะมีค่าสูงกว่าปกติ เช่น หากเราเปิดเพลง
ที่มี ความดัง จากความรู้สึกเท่า ๆ กัน ระหว่าง ลำโพง หูฟังแบบครอบหู หูฟังแบบ Earbud
และ หูฟัง In ear ปรากฏว่าค่า SPL จริง ๆ ที่กระทำต่อเยื่อแก้วหู .... ลำโพงจะน้อยสุด และ หูฟัง In ear จะมากที่สุดครับ
ส่วนเรื่องอื่น ๆ ที่อันตรายกว่า คือ การใส่หูฟัง In ear ขณะเดินตามถนน ใส่ขับรถ
เราจะไม่ได้ยินเสียงสิ่งแวดล้อมเลยครับ หากมีภัยมาถึงตัวเราก็จะไม่ได้ยินเสียงเลย
เพราะมันกันเสียงสิ่งแวดล้อมใว้หมด
แสดงความคิดเห็น
เรื่องเกี่ยวกับ "หูฟัง"
1.พอจะมีใครทราบมั้ยครับว่ามันอันตรายยังไง สมมุติว่าถ้าเราฟังในสถานที่ที่ค่อนข้างเงียบอยู่เเล้ว (เช่น หอสมุด)แบบเปิดเสียงเบามากเลยอะไรเเบบนี้อ่ะครับ ถ้าเกิดฟังติดต่อกันเป็นเวลานาน (อาจจะอ่านหนังสือไปด้วยฟังเพลงไปด้วย) ทำไมถึงเกิดผลเสียกับหูครับ คือผมอยากททราบว่ามันเเตกต่างจากการฟังเสียงรอบข้างที่ดังประมาณนั้นยังไงน่ะครับ
2.ถ้า ข้อ 1.เป็นเพราะว่ามันใกล้ระบบประสาของหูมากๆ งั้นถ้าเราออกแบบหูฟังใหม่ให้คล้ายๆแบบเดิม เพียงเเต่ว่าทำให้เหมือนกับว่าเป็นท่อสะท้อนเสียงให้แหล่งกำเนิดเสียงไกลจากหูมากๆ ก็ไม่น่าจะต่างกับการฟังเเบบปกติมากเเล้วหรือเปล่าครับ