สวัสดีค่ะ เพื่อนๆ ทุกคน กระทู้นี้ตั้งใจมาชมเลยค่ะ จากที่ได้ติดตามข่าว ว่าบ้านเมืองเราเริ่มเอาสายต่างๆ ลงดินกันแล้ว ทั้งสายระบบสื่อสาร และ สายไฟ
มีรูปสวยๆ จากกระทู้รุ่นพี่ที่เคยมาลงไว้ก่อน ก็มีอยู่หลายจังหวัด
https://ppantip.com/topic/35158569
กรุงเทพมหานคร - ถนนสีลม
ลพบุรี - ถนนเส้นหลักของเมือง
น่าน - ถนนรอบข่วงเมือง
เชียงใหม่ - ถนนท่าเเพ
ตรัง - ถนนพระราม 6 ต่อเนื่องมา ถนนกันตัง-ห้วยยอด และถนนราชดำเนิน
ภูเก็ต - ถนนกระบี่
ขอนเเก่น - ถนนศรีจันทร์
บุรีรัมย์ - ถนนเสด็จนิวัติ
สงขลา - สี่เเยกตลาดกิมหยงในหาดใหญ่
หาดใหญ่ เอาสายไฟลงใต้ดินแล้วดูสะอาดตามากๆ
cr:kapook
http://world.kapook.com/pin/53b23fda38217a6a6d000000
เท่าที่ค้นดูจากข่าว เริ่มกันมานานแล้ว แต่เห็นบอกว่า 5 ปีนี้ จะเห็นความเปลี่ยนแปลง
ด้านล่างนี้ จขกท. เก็บข่าวที่พูดถึงเรื่องการเอาสายต่างๆ ลงดิน มาไล่เรียงดู
เพื่อเราจะได้เอาไว้ติดตามกัน ว่าเมื่อถึงวันนั้นแล้ว วันที่สายต่างๆ ลงดินไปแล้ว ภูมิภูมิทัศน์
-- โครงการสายไฟลงดิน | สำนักข่าวไทย อสมท
หลังคณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้การไฟฟ้านครหลวงดำเนินการเปลี่ยนสายไฟฟ้าและสายสื่อสารลงใต้ดินใน 39 เส้นทางในเขต กทม. นนทบุรี และสมุทรปราการ ระยะทาง 127 กม. ตั้งแต่ปลายปีที่แล้ว วันนี้ 5 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ลงนามความร่วมมือบูรณาการการทำงาน เพื่อให้การนำสายไฟฟ้าลงใต้ดินมีความสะดวก รวดเร็วขึ้น และอาจลดระยะเวลาของโครงการที่จะเสร็จสิ้นใน 10 ปี ให้เหลือเพียง 5 ปีได้
-- การนำสายไฟฟ้าลงดิน ถนนราชวิถี
ถนนราชวิถีเป็นต้นแบบในการนำสายไฟฟ้าลงดินของกรุงเทพมหานคร ล่าสุดได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว
จากภาพทั้งสายไฟและสายสื่อสารลงไปอยู่ใต้ทางเท้าเรียบร้อยหมดแล้ว
-- โครงการเปลี่ยนระบบสายไฟฟ้าอากาศลงใต้ดิน จากมติของ ครม.
ถนนสีลมและสุขุมวิท
-- ล่าสุด --
-- กฟน. ผนึกกำลัง กสทช. - สมาคมโทรคมนาคมฯ นำสายสื่อสารลงดิน --
ถนนมหานครแห่งอาเซียน โครงการถนนพหลโยธิน จากบริเวณห้าแยกลาดพร้าว-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
การนำสายสื่อสารลงใต้ดินโครงการถนนพหลโยธินมีทั้งหมด 4 เฟส โดยเฟสแรกจะเริ่มจากบริเวณห้าแยกลาดพร้าว-จตุจักร และคาดว่า จะแล้วเสร็จภายในไตรมาส 3 ปี 2560
ถือเป็นโครงการนำร่องที่สำคัญ เพื่อตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาล ตามแผนปรับปรุงภูมิทัศน์แบบเร่งรัดของกรุงเทพมหานคร
มาคอยดูกันว่า ต่อไปจากนี้ บ้านเมืองเราจะสวยงามกันแค่ไหน เป็นเรื่องดีกับประเทศไทย และเยาวชนไทยที่เราจะไม่ต้องตอบคำถามเด็กๆ ว่าทำไมสายบนเสาต้องเยอะขนาดนั้นด้วย
สายระบบสื่อสาร สายไฟ ประเทศไทย กำลังลงดินกันแล้วนะคะ
มีรูปสวยๆ จากกระทู้รุ่นพี่ที่เคยมาลงไว้ก่อน ก็มีอยู่หลายจังหวัด https://ppantip.com/topic/35158569
กรุงเทพมหานคร - ถนนสีลม
ลพบุรี - ถนนเส้นหลักของเมือง
น่าน - ถนนรอบข่วงเมือง
เชียงใหม่ - ถนนท่าเเพ
ตรัง - ถนนพระราม 6 ต่อเนื่องมา ถนนกันตัง-ห้วยยอด และถนนราชดำเนิน
ภูเก็ต - ถนนกระบี่
ขอนเเก่น - ถนนศรีจันทร์
บุรีรัมย์ - ถนนเสด็จนิวัติ
สงขลา - สี่เเยกตลาดกิมหยงในหาดใหญ่
หาดใหญ่ เอาสายไฟลงใต้ดินแล้วดูสะอาดตามากๆ
cr:kapook
http://world.kapook.com/pin/53b23fda38217a6a6d000000
เท่าที่ค้นดูจากข่าว เริ่มกันมานานแล้ว แต่เห็นบอกว่า 5 ปีนี้ จะเห็นความเปลี่ยนแปลง
ด้านล่างนี้ จขกท. เก็บข่าวที่พูดถึงเรื่องการเอาสายต่างๆ ลงดิน มาไล่เรียงดู
เพื่อเราจะได้เอาไว้ติดตามกัน ว่าเมื่อถึงวันนั้นแล้ว วันที่สายต่างๆ ลงดินไปแล้ว ภูมิภูมิทัศน์
-- โครงการสายไฟลงดิน | สำนักข่าวไทย อสมท
หลังคณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้การไฟฟ้านครหลวงดำเนินการเปลี่ยนสายไฟฟ้าและสายสื่อสารลงใต้ดินใน 39 เส้นทางในเขต กทม. นนทบุรี และสมุทรปราการ ระยะทาง 127 กม. ตั้งแต่ปลายปีที่แล้ว วันนี้ 5 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ลงนามความร่วมมือบูรณาการการทำงาน เพื่อให้การนำสายไฟฟ้าลงใต้ดินมีความสะดวก รวดเร็วขึ้น และอาจลดระยะเวลาของโครงการที่จะเสร็จสิ้นใน 10 ปี ให้เหลือเพียง 5 ปีได้
-- การนำสายไฟฟ้าลงดิน ถนนราชวิถี
ถนนราชวิถีเป็นต้นแบบในการนำสายไฟฟ้าลงดินของกรุงเทพมหานคร ล่าสุดได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว
จากภาพทั้งสายไฟและสายสื่อสารลงไปอยู่ใต้ทางเท้าเรียบร้อยหมดแล้ว
-- โครงการเปลี่ยนระบบสายไฟฟ้าอากาศลงใต้ดิน จากมติของ ครม.
ถนนสีลมและสุขุมวิท
-- ล่าสุด --
-- กฟน. ผนึกกำลัง กสทช. - สมาคมโทรคมนาคมฯ นำสายสื่อสารลงดิน --
ถนนมหานครแห่งอาเซียน โครงการถนนพหลโยธิน จากบริเวณห้าแยกลาดพร้าว-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
การนำสายสื่อสารลงใต้ดินโครงการถนนพหลโยธินมีทั้งหมด 4 เฟส โดยเฟสแรกจะเริ่มจากบริเวณห้าแยกลาดพร้าว-จตุจักร และคาดว่า จะแล้วเสร็จภายในไตรมาส 3 ปี 2560
ถือเป็นโครงการนำร่องที่สำคัญ เพื่อตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาล ตามแผนปรับปรุงภูมิทัศน์แบบเร่งรัดของกรุงเทพมหานคร
มาคอยดูกันว่า ต่อไปจากนี้ บ้านเมืองเราจะสวยงามกันแค่ไหน เป็นเรื่องดีกับประเทศไทย และเยาวชนไทยที่เราจะไม่ต้องตอบคำถามเด็กๆ ว่าทำไมสายบนเสาต้องเยอะขนาดนั้นด้วย