ผมสงสัยว่า ทำไมหนังสือไทยเราต้องมีการ ควบกล้ำ การัณย์ ประมาณนี้ครับ ขอเหตุผลครับ เช่น ถ้าผมจะเขียนคำว่า "อัศจรรย์ผมเขียน อัดสะจัน เลยอ่านแล้วเป็นไงงงมั้ย หรือทำไมไม่ถูก" "พระอาทิตย์ ผมจะเขียนว่า พะอาทิด เลยจะดีกว่ามั้ย" เหตุผลส่วนตัวผมว่า ชาวต่างชาติจะได้ง่ายต่อการศึกษาครับและไม่งงด้วย อย่างคำว่า "นอนตากลม" ถ้าจะอ่านว่า กลม ก็ให้มีขีดขวางข้างบน เสียหน่อย ดีมั้ย ที่ "กลม" พูดง่ายคำพ้องจะหายไปอ่านง่าย ตากลม ตาก ลม ขีดขวางข้างบนเสียจะไห้อ่านควบคำใหนก็ขีดคำนั้นดีมั้ยครับ
แล้วพยัญชนะไทย ตัวใหนที่ไม่ใช้พิจารณาตัดออกได้แล้วหรือยังครับ พยัญชนะที่ออกเสียง คล้ายๆกัน บางตัวควรตัดออกนะครับ หรือถ้าตัดออกแล้วมันมีผลกระทบ กับอะไรครับ เช่น ข.ขวด ค.คน อย่าสอนเด็กอีกเลยได้มั้ย
เมื่อสมัยพ่อขุนราม ยังเปลี่ยนแปลงมาเป็นปัจจุบันได้ แล้วปัจจุบันทำไมไม่พัฒนา ต่อไปได้บ้าง ผมคิดแบบนี้นะครับ
ผมขอถามนักภาษาศาสตร์หน่อยครับเรื่องการเขียนหนังสือไทย
แล้วพยัญชนะไทย ตัวใหนที่ไม่ใช้พิจารณาตัดออกได้แล้วหรือยังครับ พยัญชนะที่ออกเสียง คล้ายๆกัน บางตัวควรตัดออกนะครับ หรือถ้าตัดออกแล้วมันมีผลกระทบ กับอะไรครับ เช่น ข.ขวด ค.คน อย่าสอนเด็กอีกเลยได้มั้ย
เมื่อสมัยพ่อขุนราม ยังเปลี่ยนแปลงมาเป็นปัจจุบันได้ แล้วปัจจุบันทำไมไม่พัฒนา ต่อไปได้บ้าง ผมคิดแบบนี้นะครับ