มีสมาชิกท่านหนึ่งมีชื่อเหมือนแขก อาจจะไม่ใช่คนแขกก็ได้เพียงแต่หลงไหลสาวแขกก็เป็นได้
กระทาชายนายนั้นนามว่า "พาราณสี"
แกให้ผมมาตั้งกระทู้ครับ จากการอ่านภาษาที่แกสื่อกับผมแล้ว เป็นไปได้สองแนวคือ วิงวอนร้องขอกับท้าทาย
คิดพิจารณาหลายตลบแล้ว หนักออกไปทางท้าทายซะมากกว่า ไม่เป็นไรครับการท้าทายไม่ผิด เพราะมันเป็นธรรมชาติของเด็กหนุ่มพึ่งโต
นั้นก็คืออยากให้โลกรู้ว่า มีตนอยู่ในโลกนี้ .....สรุปให้ชัดก็คือ อยากวัดรอยเท้าผู้ใหญ่
แกบอกว่า....ให้ผมมาตั้งกระทู้อธิบายคำว่า "ปรามาส" รู้ๆอยู่ว่าเป็นคำเสแสร้งแกล้งลองภูมิ ถ้าเราอธิบายไปเขาก็คงไม่เข้าใจ จะเสียของเสียเวลา
แต่คนอย่างผมไม่ใช่สุมาอี้ ที่จะปล่อยให้ทหารเลวของขงเบ้งมายืนท้าทายหน้าค่าย แบบนี้มันต้องสั่งอนให้รู้สำนึก
เกริ่นมาพอสมควร เข้าเรื่องกันเลย....
ก่อนอื่นเราต้องเข้าใจคำว่า "ปรามาส" เสียก่อน คำว่าปรามาสมันมีสองนัยยะคือ นัยยะที่หนึ่งคือ...ความหมายตามภาษาไทย
นัยยะที่สองคือ ความหมายตามบาลี(มคธ).........โปรดจำให้ดีเพราะความหมายไทยกับบาลีมันไม่เหมือนกัน
คำว่า"ปรามาส" ตามภาษาไทย หมายถึง การดูถูกดูแคลนในคุณวุติทางธรรมของบุคคลอื่น
คำว่า"ปรามาส" ตามบาลี หมายถึง การลูบคลำธรรมะอันกิดจากการยึดถือ(ตัวบุคคล) หรือก็คือเชื่อด้วยความเกรงกลัวนั้นเอง
ขอขยายความ การลูบคลำธรรมะ มันก็คือ การที่ปุถุชนหลงในตัวบุคคล แทนที่จะเคารพตัวเองใช้ปัญญาของตนเป็นหลัก
กลับไปให้ความสำคัญกับตัวบุคคล เพียงแค่หลงเชื่อคำสรรเสริญเยินยอหรือเพียงแค่ตำแหน่งพัดยศ พอเขาบอกอะไร
หรือตั้งกฎอะไรขึ้นมาแล้วบอกว่าเป็นคำสอนของพุทธองค์ พวกโง่งมงายก็หลงเชื่อว่าเป็นจริง
เราชาวพุทธไม่ควรเป็น"ปรามาส" แต่ไม่ใช่หมายความว่า ไม่ควรไปดูถูกใคร มันผิดความหมายทางธรรม
คำว่าไม่ควรเป็น"ปรามาส" หมายถึงไม่ควรศึกษาพระธรรมแบบลูบๆคล่ำ พระมหาเปรียญไปตีความหมายพุทธพจน์มั่ว
แล้วเอามาแปลไทยแบบผิดๆ ชาวพุทธก็หลงตามไปเพียงแค่เขาเป็นมหาเปรียญมีพัดยศ......นี่แหล่ะคืออาการปรามาส
อาการปรามาสยังมีอีกยอะแยะ แล้วจะมาพูดต่อ
ว่าด้วย คำว่า "ปรามาส"
กระทาชายนายนั้นนามว่า "พาราณสี"
แกให้ผมมาตั้งกระทู้ครับ จากการอ่านภาษาที่แกสื่อกับผมแล้ว เป็นไปได้สองแนวคือ วิงวอนร้องขอกับท้าทาย
คิดพิจารณาหลายตลบแล้ว หนักออกไปทางท้าทายซะมากกว่า ไม่เป็นไรครับการท้าทายไม่ผิด เพราะมันเป็นธรรมชาติของเด็กหนุ่มพึ่งโต
นั้นก็คืออยากให้โลกรู้ว่า มีตนอยู่ในโลกนี้ .....สรุปให้ชัดก็คือ อยากวัดรอยเท้าผู้ใหญ่
แกบอกว่า....ให้ผมมาตั้งกระทู้อธิบายคำว่า "ปรามาส" รู้ๆอยู่ว่าเป็นคำเสแสร้งแกล้งลองภูมิ ถ้าเราอธิบายไปเขาก็คงไม่เข้าใจ จะเสียของเสียเวลา
แต่คนอย่างผมไม่ใช่สุมาอี้ ที่จะปล่อยให้ทหารเลวของขงเบ้งมายืนท้าทายหน้าค่าย แบบนี้มันต้องสั่งอนให้รู้สำนึก
เกริ่นมาพอสมควร เข้าเรื่องกันเลย....
ก่อนอื่นเราต้องเข้าใจคำว่า "ปรามาส" เสียก่อน คำว่าปรามาสมันมีสองนัยยะคือ นัยยะที่หนึ่งคือ...ความหมายตามภาษาไทย
นัยยะที่สองคือ ความหมายตามบาลี(มคธ).........โปรดจำให้ดีเพราะความหมายไทยกับบาลีมันไม่เหมือนกัน
คำว่า"ปรามาส" ตามภาษาไทย หมายถึง การดูถูกดูแคลนในคุณวุติทางธรรมของบุคคลอื่น
คำว่า"ปรามาส" ตามบาลี หมายถึง การลูบคลำธรรมะอันกิดจากการยึดถือ(ตัวบุคคล) หรือก็คือเชื่อด้วยความเกรงกลัวนั้นเอง
ขอขยายความ การลูบคลำธรรมะ มันก็คือ การที่ปุถุชนหลงในตัวบุคคล แทนที่จะเคารพตัวเองใช้ปัญญาของตนเป็นหลัก
กลับไปให้ความสำคัญกับตัวบุคคล เพียงแค่หลงเชื่อคำสรรเสริญเยินยอหรือเพียงแค่ตำแหน่งพัดยศ พอเขาบอกอะไร
หรือตั้งกฎอะไรขึ้นมาแล้วบอกว่าเป็นคำสอนของพุทธองค์ พวกโง่งมงายก็หลงเชื่อว่าเป็นจริง
เราชาวพุทธไม่ควรเป็น"ปรามาส" แต่ไม่ใช่หมายความว่า ไม่ควรไปดูถูกใคร มันผิดความหมายทางธรรม
คำว่าไม่ควรเป็น"ปรามาส" หมายถึงไม่ควรศึกษาพระธรรมแบบลูบๆคล่ำ พระมหาเปรียญไปตีความหมายพุทธพจน์มั่ว
แล้วเอามาแปลไทยแบบผิดๆ ชาวพุทธก็หลงตามไปเพียงแค่เขาเป็นมหาเปรียญมีพัดยศ......นี่แหล่ะคืออาการปรามาส
อาการปรามาสยังมีอีกยอะแยะ แล้วจะมาพูดต่อ