ภิกษุทั้งหลาย ! วาจาอันประกอบด้วยองค์ ๕
ประการ เป็นวาจาสุภาษิต ไม่เป็นวาจาทุพภาษิต เป็นวาจา
ไม่มีโทษและวิญญูชนไม่ติเตียน.
องค์ ๕ ประการ อย่างไรเล่า ?
๕ ประการ คือ :-
(๑) กล่าวแล้วควรแก่เวลา (กาเลน ภาสิตา โหติ),
(๒) กล่าวแล้วตามสัจจ์จริง (สจฺจ ภาสิตา โหติ),
(๓) กล่าวแล้วอย่างอ่อนหวาน (สณฺหา ภาสิตา โหติ),
(๔) กล่าวแล้วอย่างประกอบด้วยประโยชน์(อตฺถสญฺหิตา ภาสิตา โหติ),
(๕) กล่าวแล้วด้วยเมตตาจิต(เมตตฺตจตฺเตน ภาสิตา โหติ).
ภิกษุทั้งหลาย ! วาจาอันประกอบด้วยองค์ ๕
ประการ เหล่านี้แล เป็นวาจาสุภาษิต ไม่เป็นวาจาทุพภาษิต
เป็นวาจาไม่มีโทษและวิญญูชนไม่ติเตียน.
หลักการพูด(พระสูตร)
ประการ เป็นวาจาสุภาษิต ไม่เป็นวาจาทุพภาษิต เป็นวาจา
ไม่มีโทษและวิญญูชนไม่ติเตียน.
องค์ ๕ ประการ อย่างไรเล่า ?
๕ ประการ คือ :-
(๑) กล่าวแล้วควรแก่เวลา (กาเลน ภาสิตา โหติ),
(๒) กล่าวแล้วตามสัจจ์จริง (สจฺจ ภาสิตา โหติ),
(๓) กล่าวแล้วอย่างอ่อนหวาน (สณฺหา ภาสิตา โหติ),
(๔) กล่าวแล้วอย่างประกอบด้วยประโยชน์(อตฺถสญฺหิตา ภาสิตา โหติ),
(๕) กล่าวแล้วด้วยเมตตาจิต(เมตตฺตจตฺเตน ภาสิตา โหติ).
ภิกษุทั้งหลาย ! วาจาอันประกอบด้วยองค์ ๕
ประการ เหล่านี้แล เป็นวาจาสุภาษิต ไม่เป็นวาจาทุพภาษิต
เป็นวาจาไม่มีโทษและวิญญูชนไม่ติเตียน.