This Couple Nursed a Rainforest Back to Life
Pamela Gale Malhotra กับ Anil Malhotra สามีของเธอ
เป็นเจ้าของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า Sai Sanctuary
ซึ่งเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งเดียวที่เป็นของเอกชนในอินเดีย
ที่มีการปลูกป่าขึ้นมาใหม่และป้องกันป่าไม้และชีวิตสัตว์ป่าตั้งแต่ปี 1991
ทุกวันนี้ SAI Sanctuary ครอบคลุมเนื้อที่ให้สัตว์ป่า
เข้ามาอยู่อาศัยมากกว่า 300 เอเคอร์ (750 ไร่) ราว 1.2 ตารางกิโลเมตร
มีสัตว์ป่านานาชนิดและสัตว์เลื้อยคลานมาอยู่อาศัยมากกว่า 200 ชนิด
รวมทั้งฝูงช้างเอเซียและฝูงเสือเบงกอล (ใช้กล้องสายลับแอบถ่าย)
“ ตอนที่เรามาที่นี่ในครั้งแรก
ชาวบ้านในพื้นที่ส่วนใหญ่ต่างขายที่ิดินให้กับเรา
เพราะเป็นที่แห้งแล้งกันดาร
ที่นาร้าง สวนกาแฟร้าง และไร่ต้นกระวานร้าง
ที่นี่มีการตัดไม้ทำลายป่าอย่างแรง
ทำให้เราต้องใช้ความพยายามอย่างสุดแรง
ในการเอาใจใส่ดูแลและใช้เวลาหลายปี
กว่าจะพลิกฟื้นป่าฝนให้กลับมาอีกครั้ง "
พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตั้งอยู่ที่เขต Kodagu ตอนใต้ของรัฐ Karnataka
ผ่านประสบการณ์เลวร้ายในการทำลายป่าไม้
แต่เดิมในปี 1970 ที่มีพื้นที่ป่าไม้ 86% ตอนนี้เหลือเพียง 16%
ผลกระทบและภัยพิบัติร้ายแรงที่ตามมาคือ
ภาวะฝนแล้งและขาดแคลนน้ำ ที่ไม่ใช่เพียงแค่ในพื้นที่เขตนี้เท่านั้น
แต่กระทบไปถึงตอนใต้ของอินเดียด้วย
" เราทั้งคู่ต่างได้ร่วมมือกันสร้างสภาพแวดล้อมขึ้นมาใหม่
และสร้างความมั่นใจว่า ป่าไม้แห่งนี้จะเป็นที่พักพิงของสัตว์ป่า
และสัตว์ป่าเหล่านี้จะมีส่วนช่วยให้ป่าไม้มีความอุดมสมบูรณ์
เราทั้งคู่มีความสุขมากเมื่อเราเดินผ่านเขตรักษาพันธุ์สัตว๋ป่าแห่งนี้
ฉันไม่เคยรู้สึกถึงความสุขแบบนี้มาก่อนเลย
ตลอดชีวิตการทำงานที่ผ่านมาของฉัน "
Pamela ให้สัมภาษณ์ Great Big Story
เขต Kodagu ตั้งอยู่ตอนใต้ของอินเดีย ประสบปัญหาจากการบุกรุกทำลายป่าไม้อย่างรุนแรง
Image credits: Infinite Windows
แต่ Pamela Gale Malhotra กับ Anil Malhotra ตัดสินใจจะฟื้นฟูป่าฝน
Image credits: Infinite Windows
ทั้งคู่คือ ผู้ก่อตั้งเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า SAI Sanctuary ในปี 1991
Image credits: The Better India
ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ทั้งคู่ได้ลงมือปลูกต้นไม้ใหม่อีกครั้ง และขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า
ซึ่งตอนนี้ครอบคลุมพื้นทีมากกว่า 300 เอเคอร์(750 ไร่) ราว 1.2 ตารางกิโลเมตร
Image credits: Great Big Story
พื้นที่แห่งนี้มีสัตว์เลื้อยคลานกับสัตว์ป่านานาชนิดมากกว่า 200 ชนิด และมีทั้งช้างเอเชีย และเสือแบงกอล
Image credits: The Better India
“ ตอนที่เรามาที่นี่ครั้งแรก ชาวบ้านในพื้นที่ส่วนใหญ่ต่างขายที่ดินให้กับเรา เพราะเป็นที่ดินรกร้าง ”
Image credits: SAI Sanctuary
“ นาร้าง สวนกาแฟร้าง และไร่ต้นกระวานร้าง (ทุกหนทุกแห่ง) ”
Image credits: Great Big Story
“[มัน] ต้องใช้การดูแลเอาใจใส่อย่างมาก พลังแรงกายแรงใจ
และเวลาหลายปีกว่าป่าไม้จะพลิกฟื้นกลับมาได้อีกครั้ง”
Image credits: The Better India
“ ฉันยังจำได้ตอนที่เดินผ่านป่าไม้ คุณจะไม่ได้ยินอะไรเลยนอกจากเสียงฝีเท้าของคุณเอง ”
Image credits: Great Big Story
“ แต่ตอนนี้ สถานที่แห่งนี้เต็มไปด้วยเสียงที่มีชีวิตชีวา ”
Image credits: Great Big Story
Pamela หวังอย่างยิ่งว่าป่าไม้แห่งนี้จะยังคงดำรงอยุ่
และได้รับการปกป้องกับขยายตัวต่อไป
Image credits: Infinite Windows
“ เราทั้งคู่รู้สึกมีความสุขอย่างเปี่ยมล้น ตอนที่เราเดินผ่านเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งนี้ ”
Image credits: Great Big Story
“ ฉันไม่เคยรู้สึกมีความสุขแบบนี้มาก่อนเลย ตลอดชีวิตการทำงานที่ผ่านมาของฉัน ”
Image credits: Infinite Windows
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/zu6513
https://goo.gl/u4xd6r
https://goo.gl/AFJdMu
https://goo.gl/66sYlj
What does it truly mean to live as one with Mother Nature?
| Pamela Malhotra | TEDxBangalore
เรื่องเดิม https://ppantip.com/topic/31877777 ชาวอัสสัม(อินเดีย)คนเดียวปลูกป่าไม้ 3,400 ไร่
การไม่ลงมือทำอะไรสักอย่างเลยคือ การรอวันเวลา/การเพ้อฝันไปวัน ๆ
Credit: Paweł Kuczyński
สองสามีภริยาใช้เวลา 26 ปีในการพลิกฟื้นป่าฝนในอินเดีย
This Couple Nursed a Rainforest Back to Life
Pamela Gale Malhotra กับ Anil Malhotra สามีของเธอ
เป็นเจ้าของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า Sai Sanctuary
ซึ่งเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งเดียวที่เป็นของเอกชนในอินเดีย
ที่มีการปลูกป่าขึ้นมาใหม่และป้องกันป่าไม้และชีวิตสัตว์ป่าตั้งแต่ปี 1991
ทุกวันนี้ SAI Sanctuary ครอบคลุมเนื้อที่ให้สัตว์ป่า
เข้ามาอยู่อาศัยมากกว่า 300 เอเคอร์ (750 ไร่) ราว 1.2 ตารางกิโลเมตร
มีสัตว์ป่านานาชนิดและสัตว์เลื้อยคลานมาอยู่อาศัยมากกว่า 200 ชนิด
รวมทั้งฝูงช้างเอเซียและฝูงเสือเบงกอล (ใช้กล้องสายลับแอบถ่าย)
“ ตอนที่เรามาที่นี่ในครั้งแรก
ชาวบ้านในพื้นที่ส่วนใหญ่ต่างขายที่ิดินให้กับเรา
เพราะเป็นที่แห้งแล้งกันดาร
ที่นาร้าง สวนกาแฟร้าง และไร่ต้นกระวานร้าง
ที่นี่มีการตัดไม้ทำลายป่าอย่างแรง
ทำให้เราต้องใช้ความพยายามอย่างสุดแรง
ในการเอาใจใส่ดูแลและใช้เวลาหลายปี
กว่าจะพลิกฟื้นป่าฝนให้กลับมาอีกครั้ง "
พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตั้งอยู่ที่เขต Kodagu ตอนใต้ของรัฐ Karnataka
ผ่านประสบการณ์เลวร้ายในการทำลายป่าไม้
แต่เดิมในปี 1970 ที่มีพื้นที่ป่าไม้ 86% ตอนนี้เหลือเพียง 16%
ผลกระทบและภัยพิบัติร้ายแรงที่ตามมาคือ
ภาวะฝนแล้งและขาดแคลนน้ำ ที่ไม่ใช่เพียงแค่ในพื้นที่เขตนี้เท่านั้น
แต่กระทบไปถึงตอนใต้ของอินเดียด้วย
" เราทั้งคู่ต่างได้ร่วมมือกันสร้างสภาพแวดล้อมขึ้นมาใหม่
และสร้างความมั่นใจว่า ป่าไม้แห่งนี้จะเป็นที่พักพิงของสัตว์ป่า
และสัตว์ป่าเหล่านี้จะมีส่วนช่วยให้ป่าไม้มีความอุดมสมบูรณ์
เราทั้งคู่มีความสุขมากเมื่อเราเดินผ่านเขตรักษาพันธุ์สัตว๋ป่าแห่งนี้
ฉันไม่เคยรู้สึกถึงความสุขแบบนี้มาก่อนเลย
ตลอดชีวิตการทำงานที่ผ่านมาของฉัน "
Pamela ให้สัมภาษณ์ Great Big Story
เขต Kodagu ตั้งอยู่ตอนใต้ของอินเดีย ประสบปัญหาจากการบุกรุกทำลายป่าไม้อย่างรุนแรง
Image credits: Infinite Windows
แต่ Pamela Gale Malhotra กับ Anil Malhotra ตัดสินใจจะฟื้นฟูป่าฝน
Image credits: Infinite Windows
ทั้งคู่คือ ผู้ก่อตั้งเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า SAI Sanctuary ในปี 1991
Image credits: The Better India
ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ทั้งคู่ได้ลงมือปลูกต้นไม้ใหม่อีกครั้ง และขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า
ซึ่งตอนนี้ครอบคลุมพื้นทีมากกว่า 300 เอเคอร์(750 ไร่) ราว 1.2 ตารางกิโลเมตร
Image credits: Great Big Story
พื้นที่แห่งนี้มีสัตว์เลื้อยคลานกับสัตว์ป่านานาชนิดมากกว่า 200 ชนิด และมีทั้งช้างเอเชีย และเสือแบงกอล
Image credits: The Better India
“ ตอนที่เรามาที่นี่ครั้งแรก ชาวบ้านในพื้นที่ส่วนใหญ่ต่างขายที่ดินให้กับเรา เพราะเป็นที่ดินรกร้าง ”
Image credits: SAI Sanctuary
“ นาร้าง สวนกาแฟร้าง และไร่ต้นกระวานร้าง (ทุกหนทุกแห่ง) ”
Image credits: Great Big Story
“[มัน] ต้องใช้การดูแลเอาใจใส่อย่างมาก พลังแรงกายแรงใจ
และเวลาหลายปีกว่าป่าไม้จะพลิกฟื้นกลับมาได้อีกครั้ง”
Image credits: The Better India
“ ฉันยังจำได้ตอนที่เดินผ่านป่าไม้ คุณจะไม่ได้ยินอะไรเลยนอกจากเสียงฝีเท้าของคุณเอง ”
Image credits: Great Big Story
“ แต่ตอนนี้ สถานที่แห่งนี้เต็มไปด้วยเสียงที่มีชีวิตชีวา ”
Image credits: Great Big Story
Pamela หวังอย่างยิ่งว่าป่าไม้แห่งนี้จะยังคงดำรงอยุ่
และได้รับการปกป้องกับขยายตัวต่อไป
Image credits: Infinite Windows
“ เราทั้งคู่รู้สึกมีความสุขอย่างเปี่ยมล้น ตอนที่เราเดินผ่านเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งนี้ ”
Image credits: Great Big Story
“ ฉันไม่เคยรู้สึกมีความสุขแบบนี้มาก่อนเลย ตลอดชีวิตการทำงานที่ผ่านมาของฉัน ”
Image credits: Infinite Windows
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/zu6513
https://goo.gl/u4xd6r
https://goo.gl/AFJdMu
https://goo.gl/66sYlj
What does it truly mean to live as one with Mother Nature?
| Pamela Malhotra | TEDxBangalore
เรื่องเดิม https://ppantip.com/topic/31877777 ชาวอัสสัม(อินเดีย)คนเดียวปลูกป่าไม้ 3,400 ไร่
การไม่ลงมือทำอะไรสักอย่างเลยคือ การรอวันเวลา/การเพ้อฝันไปวัน ๆ
Credit: Paweł Kuczyński