ผมไปกทม.เป็นครั้งที่ 2 ในชีวิต เวลาผมขึ้น BTS หรือรถเมล์ บนรถจะมีป้ายติดไว้ว่า "เอื้อเฟื้อแก่เด็ก คนชรา สตรีมีครรภ์" นั่นหมายความว่า ผญ.อายุ 15 -
60 ปี ไม่มีสิทธิ์ได้ับความเอื้อเฟื้ออย่างนั้นเหรอ? ผมไม่เห็นว่าจะมีใครสนใจกับป้ายนั้นเลย ผมเห็นเพียงแค่ใครมาก่อนก็ได้นั่งก่อน ใครมาหลังก็ยืนกันไป หรือเพราะว่า "น้ำใจ" ถูกคำว่า "สิทธิเท่าเทียมกัน"กลืนกินไปเสียแล้ว ประมาณว่า เธอนั่งได้ ฉันก็นั่งได้ และในเมื่อฉันยืนได้ เธอก็ต้องยืนได้เช่นกัน
ถ้าเป็นเช่นนั้น มันถูกต้องแล้วเหรอ? คำว่าสิทธิเท่าเทียมกันมันใช้ได้กับกรณีแบบนี้เหรอ? ใครมีคำตอบหรือความคิดเห็นอย่างไร ช่วยอธิบายหรือชี้แนะด้วยครับ
ทำไม "น้ำใจ" บนรถโดยสารสาธารณะหากันยากแล้ว?
60 ปี ไม่มีสิทธิ์ได้ับความเอื้อเฟื้ออย่างนั้นเหรอ? ผมไม่เห็นว่าจะมีใครสนใจกับป้ายนั้นเลย ผมเห็นเพียงแค่ใครมาก่อนก็ได้นั่งก่อน ใครมาหลังก็ยืนกันไป หรือเพราะว่า "น้ำใจ" ถูกคำว่า "สิทธิเท่าเทียมกัน"กลืนกินไปเสียแล้ว ประมาณว่า เธอนั่งได้ ฉันก็นั่งได้ และในเมื่อฉันยืนได้ เธอก็ต้องยืนได้เช่นกัน
ถ้าเป็นเช่นนั้น มันถูกต้องแล้วเหรอ? คำว่าสิทธิเท่าเทียมกันมันใช้ได้กับกรณีแบบนี้เหรอ? ใครมีคำตอบหรือความคิดเห็นอย่างไร ช่วยอธิบายหรือชี้แนะด้วยครับ