กระดาษสีขาว

by kradardkhao


บทนำ
จดหมาย


ผมอยู่กับคุณ ตอนคุณอ่านหนังสือ ช่วงที่คุณกำลังเขียนเรื่องราวใหม่ๆผมอยู่ข้างคุณ ผมเห็นคุณเสียใจน้อยที่สุด ตอนคุณอ่านเนื้อเรื่องบนหนังสือ ผมอยู่กับคุณ ถึงหนังสือของคุณยังไม่มีบนชั้นวางหนังสือของผม



บทความที่ชวนฉงวนสงสัยนี้ ไม่รู้มีที่มาจากไหน ไม่รู้เขียนขึ้นตอนไหน ไม่รู้ใครเป็นคนเขียนขึ้น และฝากข้อความไว้ให้ใครกัน


ผมบอกใบ้ให้แล้วกัน


บทความที่เห็นอยู่นี้


ไม่ใช่ ข้อความจากคนบนฟ้าที่ล่วงลับไปแล้วส่งให้ผู้ที่ยังอยู่
ไม่ใช่ บทกลอนร้อยแก้วจากกวีเอกสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
ไม่ใช่ บทความของนักเขียนนิยายแนวดราม่าหรือโรแมติก


ใช่ ความจริงไม่เป็นอย่างนั้น


ข้อความนี้ถูกเขียนขึ้นโดยชายผู้หนึ่ง ส่งถึงหญิงสาวผู้หนึ่งและเพื่อนสนิทของเขาในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมาและถูกเขียนขึ้นบนโลกแห่งความเป็นจริงในยุคปัจจุบัน


หนังสือเปรียบเสมือนเรื่องราวของชีวิต นั่นคือสิ่งที่ผมรู้มา


ใช่ ผมรู้จักเขาถึงแม้ว่าเขาจะไม่มีตัวตนอยู่แล้ว


สำหรับที่มาของข้อความเราคงต้องย้อนกลับไปดูอดีตกันสักหน่อย เพื่อเข้าใจเรื่องราวทั้งหมด



บทที่ 1
กาลเวลาที่ไม่มีจริง


คนที่เขียนจดหมายฉบับนี้ขึ้นมามีชื่อว่า เหลียง


เขาเป็นเพื่อนสนิทของผมเอง


เขาชอบศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่อง วิทยาศาตร์ สถาปัตยกรรม และชีวประวัติของบุคคลสำคัญ


และยังสนใจในหลักการดำเนินชีวิต


ศึกษาเกี่ยวกับหลักคำสอนของลัทธิต่างๆ


อย่างเช่น ลัทธิเต๋า ลักธิเซน และลักธิบูชิโด


เหมือนกับตัวผมทุกอย่าง


ทำให้ผมกล้าพูดได้เลยว่า เราเป็นเพื่อนสนิทที่คล้ายกันมาก


บางทีผมอาจรู้จักเขาดีกว่าตัวเขาเองเสียด้วยซ้ำ


เขาเป็นคนที่มีความมั่นใจในตัวเองสูง


มีมุมมองทางความคิดที่ไม่เหมือนคนทั่วไป


เขาจึงมีอธิพลทางความคิดต่อคนอื่นๆรอบตัว


รวมทั้งผมด้วย


เป็นเวลาหลายปีมาแล้วที่เขาบอกกับผมว่าบางที เวลาอาจไม่มีอยู่จริง


ผมยังจำประโยคที่เขาบอกกับผมได้ขึ้นใจ “there is no time , the time is none ."


เขาได้อธิบายว่า เวลาเป็นสิ่งหนึ่งที่มนุษย์สมมุติขึ้นเพื่อความสะดวกในการสื่อสาร และดำเนินชีวิต


เขายังบอกอีกว่านาฬิกาก็คือเครื่องกลชนิดหนึ่ง ที่ถูกออกแบบโดยอ้างอิงฐานข้อมูลทางด้านดาราศาสตร์


นาฬิกาจึงเปรียบเสมือนสิ่งที่บ่งบอกช่วงที่โลกหมุนรอบตัวเองครบหนึ่งรอบ


หรือช่วงที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ครบหนึ่งรอบ


ดังนั้น วันก็เปรียบเสมือนสิ่งสมมุติอย่างนึง เพื่อใช้เรียกเมื่อโลกหมุนรอบตัวเอง


และ ปีก็เปรียบเสมือนสิ่งสมมุติอย่างนึง ที่ใช้เรียกเมื่อโลกหมุนโคจรดวงอาทิตย์


เพราะฉะนั้น เวลาจึงไม่มีอยู่จริง เป็นเพียงศัพท์ที่สมมุติขึ้นมาเท่านั้น




บทที่ 2
ห้วงเวลาที่มีจริง


หลังจากที่เขาตั้งสมมติฐานที่ว่า เวลาไม่มีจริง


พวกเราก็ได้ไปค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องของเวลา


นี่คือบทความต่างๆที่เราหาเจอ


บทความ เรื่องความโน้มถ่วง     note ล่างสุดของกระดาษ
สรุปสั้นๆคือ เวลาสามารถถูกดูดโดยแรงโน้มถ่วงได้


บทความ เรื่องการยืดของเวลา     note ล่างสุดของกระดาษ
สรุปสั้นๆคือ ความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ทำให้เวลาของวัตถุนั้นไม่เท่ากัน


เมื่อเราคิดวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในทฤษฎี "สัมทภาพทางเวลา"


พวกเราก็ลงความเห็นร่วมกันว่า


สมมุติฐานที่ได้ตั้งขึ้นนั้นผิด


ห้วงแห่งเวลานั้นมีจริง


เพราะขัดแย้งกับทฤษฎี ความโน้มถ่วง และการยืดของเวลา


ที่เป็นที่ทราบกันทั่วไปในชื่อว่า "สัมพันธภาพทางเวลา”


ที่ได้รับการยอมในยุคปัจจุบัน



บทที่ 3
กาแฟ


ขณะที่ผมนั่งอยู่ในร้านกาแฟ


วันนั้นเป็นช่วงบ่ายของวัน


ผมมองดูเหลียงอยู่เงียบบ..เงียบบ


เขาดูเศร้าใจ


ผมเดาออกด้วยสิ


ไม่ต้องบอกก็รู้


เราเป็นเพื่อนซี้กันนิ


เขาดูกังวลใจ


เหมือนว่ากำลังคิดอะไรอยู่


ล่องลอยย


ตอนนั้นผมได้แต่มองเขา


มองดูอยู่นาน


จนผมเผลออ



...



ที่เเป็นแบบนี้


ทั้งหมด 3 เดือนแล้วสิ


ถ้านับจาก.. .. .     


บทที่ 4
there is no time and distance through mind .


หลังรู้ความจริงเรื่อง "ห้วงของเวลา”


หลังจากนั้นไม่นาน


พวกเราก็ต้องยกประโยชน์ให้สมมติฐานแรกที่เขาตั้งขึ้น


แม้ว่าจะเป็นสมมติฐานที่ผิด


เพราะสมมติฐานของเขา


หรือกฎเกณฑ์ที่เราเรียกว่า "กาลเวลาไม่มีจริง"


ทำให้เราค้นพบสมมติฐานหลายๆอย่าง


ที่มีโอกาสเป็นไปได้จริง


เราตั้งชื่อกฏเกณฑ์ทั้งหมดว่า “สัมพันธภาพทางความรู้สึก"


กฎเกณฑ์สุดท้ายนั้นพวกเราตั้งชื่อว่า “การรวบต่อ”


ผลลัพท์ของสมมติฐานสุดท้ายที่เราตั้งขึ้นคงเปรียบได้กับประโยคที่มีใจความว่า


"there is no time and distance through mind .”



สาระสุดกระดาษ

Gravitational time dilation is a form of time dilation, an actual difference of elapsed time between two events as measured by observers situated at varying distances from a gravitating mass. The weaker the gravitational potential (the farther the clock is from the source of gravitation), the faster time passes. Albert Einstein originally predicted this effect in his theory of relativity and it has since been confirmed by tests of general relativity.[1]

This has been demonstrated by noting that atomic clocks at differing altitudes (and thus different gravitational potential) will eventually show different times. The effects detected in such Earth-bound experiments are extremely small, with differences being measured in nanoseconds. Relative to the earth's age in billion of years, the earth's core is effectively 2.5 years younger than the surface[2] leading to a paradox of alignment with the celestial sphere due to the rotation of the earth. Demonstrating larger effects would require greater distances from the Earth or a larger gravitational source.

Gravitational time dilation was first described by Albert Einstein in 1907[3] as a consequence of special relativity in accelerated frames of reference. In general relativity, it is considered to be a difference in the passage of proper time at different positions as described by a metric tensor of spacetime. The existence of gravitational time dilation was first confirmed directly by the Pound–Rebka experiment in 1959.



ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ (อังกฤษ: special relativity) ถูกเสนอขึ้นในปี ค.ศ. 1905 โดยอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ในบทความของเขา "เกี่ยวกับพลศาสตร์ไฟฟ้าของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ (On the Electrodynamics of Moving Bodies)" สามศตวรรษก่อนหน้านั้น หลักสัมพัทธภาพของกาลิเลโอกล่าวไว้ว่า การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ทั้งหมดเป็นการสัมพัทธ์ และไม่มีสถานะของการหยุดนิ่งสัมบูรณ์และนิยามได้ คนที่อยู่บนดาดฟ้าเรือคิดว่าตนอยู่นิ่ง แต่คนที่สังเกตบนชายฝั่งกลับบอกว่า ชายบนเรือกำลังเคลื่อนที่ ทฤษฏีของไอน์สไตน์รวมหลักสัมพัทธภาพของกาลิเลโอเข้ากับสมมติฐานที่ว่า ผู้สังเกตทุกคนจะวัดอัตราเร็วของแสงได้เท่ากันเสมอ ไม่ว่าสภาวะการเคลื่อนที่เชิงเส้นด้วยความเร็วคงที่ของพวกเขาจะเป็นอย่างไร

ทฤษฏีนี้มีข้อสรุปอันน่าประหลาดใจหลายอย่างซึ่งขัดกับสามัญสำนึก แต่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยการทดลอง ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษล้มล้างแนวคิดของปริภูมิสัมบูรณ์และเวลาสัมบูรณ์ของนิวตันโดยการยืนยันว่า ระยะทางและเวลาขึ้นอยู่กับผู้สังเกต และรับรู้เวลากับปริภูมิต่างกันขึ้นอยู่กับผู้สังเกต มันนำมาซึ่งหลักการสมมูลของสสารและพลังงาน ซึ่งสามารถแสดงเป็นสมการชื่อดัง E=mc2 เมื่อ c คืออัตราเร็วของแสง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษสอดคล้องกับกลศาสตร์นิวตันในสำนึกทั่วไปและในการทดลองเมื่อความเร็วของสิ่งต่าง ๆ น้อยมากเมื่อเทียบกับอัตราเร็วแสง

ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่งได้

ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า แสง เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐานที่เชื่อมปริภูมิกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้

ถ้าอยากรู้ลึกกว่านี้ ต้องค้นคว้ากัน โรคประสาทและโรคจิตมีอยู่หลายรูปแบบมาก ถ้าเอามาลงให้ที่ตรงนี้เกรงว่าจะไม่พอ สันนนิฐานการเกิดก็หลายสายเหตุด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น ด้านร่างกาย จิตใจ สภาพแวดล้อม การเลี้ยงดู และอื่นๆอีก





๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘๗๘
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่