สีลพตปรามาส
ความหมายโดยทั่วไป
ไม่ปรามาสแม้ศีลที่เล็กน้อย เชื่อว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นด้วยเพียงแค่ศีล วัตรปฎิบัติที่ผิดไปจากทางอันหลุดพ้นที่แท้จริง
หนึ่งในอุปาทานสี่ ก้อคือ สีลพตปรามาส ยึดมั่นในสีลพรตที่ผิด
ทางแห่งการรหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวงนั่นคือ อริยมรรคมีองค์แปด
ศีล สมาธิ ปัญญา
สมเด็จพระบรมศาสดา ทรงแสดงอานิสงฆ์ของศีลไว้ว่า
ให้เป็นไปเพื่อความไม่เบียนเบียน ทั้งตนเองและผู้อื่น
มีความไม่เดือดเนื้อร้อนใจเป็นที่มุ่งหมาย และ
เป็นไปเพื่อสัมมาสมาธิ และสัมมาสมาธิอันเป็นไปเพื่อปัญญา
ปัญญาในการเห็นแจ้งในสภาวะธรรมทั้งปวงตามที่เป็นจริง
เมื่อเห็นแจ้งสภาวะธรรมทั้งปวงตามที่เป็นจริง ย่อมคลายความยึดมั่นถือมือในสภาวะธรรมทั้งปวง
ศีล เป็นไปเพื่อสมาธิ สมาธิเป็นไปเพื่อปัญญา และผู้มีปัญญาย่อมเป็นผู้รักษาศีล
ศีล คือการสำรวมระวังกาย วาจา จากเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต แต่ก้อไม่ควรยึดมั่นถือมั่นว่า ศีลเท่านั้นคือทางแห่งการหลุดพ้นแห่งทุกข์ทั้งปวงได้
ศีล คือเบื้องต้นแห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง ผู้มีปัญญาถึงพร้อมแล้ว ศีลย่อมเป็นไปเองโดยไม่ต้องไปยึดมั่นถือมั่น แต่ก้อมิปรามาสแม้ศีลอันเล็กน้อย
หากผู้ที่ยังไม่ถึงพร้อมด้วยปัญญา นั่นควรอบรมตน และสำรวมระวังตนไว้ด้วยศีล ให้เป็นไปเพื่อสัมมาสมาธิ และถึงพร้อมด้วยปัญญาในการก้าวล่วง
แห่งทุกข์ทั้งปวง
แม้เพียงแต่ศีลเองก้อยังมิใช่ทางพ้นอบายอย่างแท้จริง หากถือศีลด้วยความหนักอึ้ง ด้วยอุปาทาน หากจิตยังเต็มไปด้วยนิวรณ์ และ ราคะ โทสะ โมหะ
จิตคิดอิจฉา พยาบาท โกรธเกลียด ถือดี โอ้อวดตนด้วยความมีศีลที่เหนือกว่าผู้อื่น ถือศีล แต่กลับเอารัดเอาเปรียบผู้อื่น ไม่รู้จักเมตตา กรุณา มุฑิตา
อุเบกขา ต่อผู้อื่นและเหล่าสรรพสัตว์ทั้งหลาย ประกอบอาชีพอันเป็น มิจฉาอาชีโว เบียดเบียนผู้อื่นด้วยความโลภ และหาข้ออ้างต่างๆนาๆให้แก่ตนเอง
ในการประกอบ มิจฉาอาชีโวนั้น
ศีล เป็นฐานอันสำคัญ ในการก้าวล่วงแห่งทุกข์ทั้งปวง หากศีลนั้นเป็นไปเพื่อสมาธิ และปัญญา
เมื่อปัญญาถึงพร้อม ศีลนั้นย่อมเป็นไปเองตามธรรมดา
ศีล สมาธิ ปัญญา
อริยมรรคมีองค์แปด
นี่คือกุศลกรรมเพื่อการก้าวล่วงแห่งความเป็น เวไนยสัตว์
สังโยชน์ ๓ สีลพตปรามาส
ความหมายโดยทั่วไป
ไม่ปรามาสแม้ศีลที่เล็กน้อย เชื่อว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นด้วยเพียงแค่ศีล วัตรปฎิบัติที่ผิดไปจากทางอันหลุดพ้นที่แท้จริง
หนึ่งในอุปาทานสี่ ก้อคือ สีลพตปรามาส ยึดมั่นในสีลพรตที่ผิด
ทางแห่งการรหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวงนั่นคือ อริยมรรคมีองค์แปด
ศีล สมาธิ ปัญญา
สมเด็จพระบรมศาสดา ทรงแสดงอานิสงฆ์ของศีลไว้ว่า
ให้เป็นไปเพื่อความไม่เบียนเบียน ทั้งตนเองและผู้อื่น
มีความไม่เดือดเนื้อร้อนใจเป็นที่มุ่งหมาย และ
เป็นไปเพื่อสัมมาสมาธิ และสัมมาสมาธิอันเป็นไปเพื่อปัญญา
ปัญญาในการเห็นแจ้งในสภาวะธรรมทั้งปวงตามที่เป็นจริง
เมื่อเห็นแจ้งสภาวะธรรมทั้งปวงตามที่เป็นจริง ย่อมคลายความยึดมั่นถือมือในสภาวะธรรมทั้งปวง
ศีล เป็นไปเพื่อสมาธิ สมาธิเป็นไปเพื่อปัญญา และผู้มีปัญญาย่อมเป็นผู้รักษาศีล
ศีล คือการสำรวมระวังกาย วาจา จากเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต แต่ก้อไม่ควรยึดมั่นถือมั่นว่า ศีลเท่านั้นคือทางแห่งการหลุดพ้นแห่งทุกข์ทั้งปวงได้
ศีล คือเบื้องต้นแห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง ผู้มีปัญญาถึงพร้อมแล้ว ศีลย่อมเป็นไปเองโดยไม่ต้องไปยึดมั่นถือมั่น แต่ก้อมิปรามาสแม้ศีลอันเล็กน้อย
หากผู้ที่ยังไม่ถึงพร้อมด้วยปัญญา นั่นควรอบรมตน และสำรวมระวังตนไว้ด้วยศีล ให้เป็นไปเพื่อสัมมาสมาธิ และถึงพร้อมด้วยปัญญาในการก้าวล่วง
แห่งทุกข์ทั้งปวง
แม้เพียงแต่ศีลเองก้อยังมิใช่ทางพ้นอบายอย่างแท้จริง หากถือศีลด้วยความหนักอึ้ง ด้วยอุปาทาน หากจิตยังเต็มไปด้วยนิวรณ์ และ ราคะ โทสะ โมหะ
จิตคิดอิจฉา พยาบาท โกรธเกลียด ถือดี โอ้อวดตนด้วยความมีศีลที่เหนือกว่าผู้อื่น ถือศีล แต่กลับเอารัดเอาเปรียบผู้อื่น ไม่รู้จักเมตตา กรุณา มุฑิตา
อุเบกขา ต่อผู้อื่นและเหล่าสรรพสัตว์ทั้งหลาย ประกอบอาชีพอันเป็น มิจฉาอาชีโว เบียดเบียนผู้อื่นด้วยความโลภ และหาข้ออ้างต่างๆนาๆให้แก่ตนเอง
ในการประกอบ มิจฉาอาชีโวนั้น
ศีล เป็นฐานอันสำคัญ ในการก้าวล่วงแห่งทุกข์ทั้งปวง หากศีลนั้นเป็นไปเพื่อสมาธิ และปัญญา
เมื่อปัญญาถึงพร้อม ศีลนั้นย่อมเป็นไปเองตามธรรมดา
ศีล สมาธิ ปัญญา
อริยมรรคมีองค์แปด
นี่คือกุศลกรรมเพื่อการก้าวล่วงแห่งความเป็น เวไนยสัตว์